เพลงพื้นบ้าน : กรณีศึกษา ตำบลหินแก้ว อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร
Issued Date
2549
Copyright Date
2549
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ก-ฎ, 306 แผ่น
ISBN
9740474705
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ดนตรี))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2549
Suggested Citation
อมร พุทธานุ เพลงพื้นบ้าน : กรณีศึกษา ตำบลหินแก้ว อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร. วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ดนตรี))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2549. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/94413
Title
เพลงพื้นบ้าน : กรณีศึกษา ตำบลหินแก้ว อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร
Alternative Title(s)
Folk songs of tambon Hingaew, Tasae district, Chumpon province, Thailand
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาและบทบาทหน้าที่ของเพลง พื้นบ้านและวิเคราะห์ลักษณะเฉพาะทางดนตรี กรณีศึกษาตำบลหินแก้ว อำเภอท่าแซะ จังหวัด ชุมพร โดยใช้หลักทางมนุษยดนตรีวิทยา มาเป็นแนวทางเพื่อการทำศึกษา พบว่าเพลงพื้นบ้านในพื้นที่ ที่ ศึกษามีจำนวนเพลงพื้นบ้าน 8 ชนิด แบ่งตามลักษณะที่ ใช้ของเพลงพื้นบ้านได้ 3 ประเภท คือ 1. เพลงพื้นบ้านทั่วไป ได้แก่ เพลงกล่อมน้อง เพลงรำวง 2 .เพลงพื้นบ้านที่เกี่ยวกับประเพณีเทศกาลต่างๆ ได้แก่ เพลงนา เพลงบอก เพลงเรือ 3. เพลงพื้นบ้านเกี่ยวกับการแสดงได้แก่ เพลงกำพลัด เพลงสวดมาลัย ลำตัด บทบาทและหน้าที่ของเพลงพื้นบ้านนั้นเป็นกิจกรรมเพื่อความบันเทิง สนุกสนานใน ด้านสุนทรียศาสตร์และแฝงนัยยะการทำกิจกรรมร่วมกันเพื่อความสามัคคีปรองดองกันในหมู่คณะ ของชาวบ้านในช่วงสถานการณ์นั้นๆ การวิเคราะห์ลักษณะทางดนตรีจากประเภทเพลงทั้งหมด 7 ชนิด 11 ทำนอง ยกเว้น เพลงกำพลัดที่ไม่ได้ทำการวิเคราะห์ พบว่า โครงสร้างทำนองส่วนใหญ่เป็นลักษณะเพลงท่อน เดียวทั้งทำนองและเนื้อร้องสั้นๆ มีเพียงทำนองเล่นรำของการแสดงลำตัดทำนองเท่านั้น ที่เป็น ลักษณะเพลงสองท่อน และมีวิธีการร้องไม่เหมือนกัน ลักษณะกลุ่มเสียงที่พบในเพลงพื้นบ้านอยู่ ในกลุ่มเสียงใกล้เคียงกับโมดไอโอเนียน (Ionian) เป็นส่วนใหญ่ พิสัยของเสียงส่วนใหญ่ที่พบ ในแต่ละเพลงมีระยะ เป็น 1 ช่วงเสียงคู่แปด รูปแบบจังหวะทำนอง มีหลากหลายรูปแบบ เกิด จากเพลงที่มีจังหวะคงที่และมีจังหวะไม่คงที่ ทั้งที่เพลงไม่ซับซ้อนของทำนองมากนัก การ ตกแต่งประดับประดาทำนอง มีการใช้เสียงที่มีการร้องเอื้อนกันอย่างต่อเนื่อง การใช้คำร้องที่มี ความหมาย ไม่มีความหมายหรือเป็นภาษาพูด ทำนองกับคำร้องโดยส่วนใหญ่ของเพลงพื้นบ้านมี ความสัมพันธ์กัน
This research investigated history, background, role and function of folksongs in the of 'Hinkaew', and 'Taesae' district, Chumporn province, Thailand. Research methodology was Ethnomusicology. There are alltogether 8 folksongs in the area, which were categorized into 3 types: the general folksongs sush as 'Pleng Klom Nong', and 'Pleng Ram Wong'; folksongs for traditions and sush festivals as 'Pleng Na', 'Pleng Bork', and 'Pleng Ruea'; and folksongs for performance sush as 'Pleng kam prad' , 'Pleng suad malai', and 'Lam-tad'. Roles and functions of folksongs are for the purpose of entertainment, initiating harmony within the community, and aesthetics. Musical analysis was done on 7 types with 11 melodic patterns, only 'Kam prad' was eliminated for analysis. Musical structure is found mostly through composition only the musical dance and 'Lam tad' are created in binary form with a different application of vocal methods. The musical ranges are mostly within an octave. There are various styles of melodic patterns due to the steady and unsteady rhythm of beats, melodic embellishment, vocal techniques, meaningful and meaningless text, and speech text. Modes occupying are ranged from 4 tones to 8 tones. Text and melody was found to be related
This research investigated history, background, role and function of folksongs in the of 'Hinkaew', and 'Taesae' district, Chumporn province, Thailand. Research methodology was Ethnomusicology. There are alltogether 8 folksongs in the area, which were categorized into 3 types: the general folksongs sush as 'Pleng Klom Nong', and 'Pleng Ram Wong'; folksongs for traditions and sush festivals as 'Pleng Na', 'Pleng Bork', and 'Pleng Ruea'; and folksongs for performance sush as 'Pleng kam prad' , 'Pleng suad malai', and 'Lam-tad'. Roles and functions of folksongs are for the purpose of entertainment, initiating harmony within the community, and aesthetics. Musical analysis was done on 7 types with 11 melodic patterns, only 'Kam prad' was eliminated for analysis. Musical structure is found mostly through composition only the musical dance and 'Lam tad' are created in binary form with a different application of vocal methods. The musical ranges are mostly within an octave. There are various styles of melodic patterns due to the steady and unsteady rhythm of beats, melodic embellishment, vocal techniques, meaningful and meaningless text, and speech text. Modes occupying are ranged from 4 tones to 8 tones. Text and melody was found to be related
Description
ดนตรี (มหาวิทยาลัยมหิดล 2549)
Degree Name
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
วิทยาลัยดุริยางคศิลป์
Degree Discipline
ดนตรี
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล