Functional Disability and association factors in elderly age over 50 years old in Thailand
Issued Date
2024
Copyright Date
2017
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xi, 94 leaves
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.P.H.M. (Primary Health Care Management))--Mahidol University, 2017
Suggested Citation
Sirinapa Siriporn na Ratchaseema Functional Disability and association factors in elderly age over 50 years old in Thailand. Thesis (M.P.H.M. (Primary Health Care Management))--Mahidol University, 2017. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92374
Title
Functional Disability and association factors in elderly age over 50 years old in Thailand
Alternative Title(s)
สถานการณ์ภาวะพึ่งพิงในผู้ที่มีอายุ 50 ปีขึ้นไปและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในประเทศไทย
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
Elder population will increase in many countries. In Thailand a survey showed that elderly population will increase continuously from 13.2 percent in 2010 to 32.1 percent in 2040.Functional disability in elderly will increase, and a lot of care will be needed to support them. The specific objectives of this study are to describe the prevalence of functional disability of elderly aged over 50 years in communities of Thailand, and to determine factors associated with disability of elderly aged over 50 years old. A household cross-sectional study was conducted for Thai elderly aged 50 years and older in the communities of Thailand from September 2015 to March 2016. Multi-stage cluster sampling was used to select the respondents from sixteen districts, from fourteen provinces across different regions of Thailand. Electronic form was developed for data entering from all study sites. Face-to-face interview method was used to fill up the electronic form of questionnaire by trained research assistants. Data were analyzed by binary regression and multiple logistic regressions. A total of 4,000 subjects from sixteen districts were face-to-face interviewed by trained research assistants. This analysis focused on function of elderly by using ADL and IADL measurement in this study; we, therefore, excluded the 236 respondents who were in the exclusion criteria. After all, total 3,764 questionnaires were included in the analysis. Regarding the age, it showed the ages of pre-elderly (50-59 years old) in 37.6 % mean of age group were 64 years old, and the oldest was 97 years old. (Median=62, Min=50, Max=97).One-third of respondents were male. Majority of the group were under universal health coverage (84.1%) and had a medical consultation (85.2%).One-third of respondents felt home safety, and one-third of respondents had community support. Functional disability measurement by total score ADL founded dependent only 1.7 percent and 10.7 percent by total score IADL. The prevalence of functional disability by at least one dependence in ADL was 19.50 percent and 35.50 percent by at least one dependence of IADL. The factors found to be significantly associated with functional disability were age, sex, religion, marriage status, education level, household income, perception on health, community support, cognitive function, movement problem, vision impairment. (p-value < 0.05) Final model of multiple logistic regressions was performed by using backward logistic regression methods. Eight factors that were significant predictors of functional disability among adult aged 50 years and older were age, education level, household income, perception on health, community support, cognitive function, movement problem, and vision impairment. In conclusions, multiple factors can predict functional disability in elderly. Some factors can modify and prevent or help to prevent the functional disability in elderly. Our findings could help to understand the current situation for targeting health promotion and set up the health care system for elderly, and policy implementation among this adult and elderly in health system of Thailand.
จากประชาการผู้สูงอายุมีมีจำนวนมากขึ้นในหลายประเทศ และประเทศไทยก็เป็นประเทศหนึ่งพี่พบว่ามีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น โดยจากการสำรวจพบว่าจำนวนผู้สูงอายุในประเทศไทยมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากการสำรวจและคาดการพบว่าจากสัดส่วนจำนวนผู้สูงอายุ 13.2 เปอเซ็นต์ ในปี ค.ศ. 2010 จะเพิ่มขึ้นเป็น 32.1 เปอเซ็นต์ ในปี ค.ศ. 2040 และการเกิดภาวะพึ่งพิงในผู้สูงอายุเป็นปัญหาหนึ่งที่สำคัญ และจะเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆเมื่อมีประชากรผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น ซึ่งเมื่อเกิดภาวะพึ่งพิงผู้สูงอายุจำเป็นต้องได้รับการดูแลในหลายมิติและต้องใช้ทรัพยากรเป็นอย่างมากในการดูแล การศึกษาในครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงความชุกของภาวะพิงในผู้ที่มีอายุ 50 ปี ขึ้นไปและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในประเทศไทย วิธีการการศึกษา เป็นการศึกษาวิจัยเชิงพรรณณาภาคตัดขวางจากการสำรวจผู้ที่มีอายุ 50 ปี ขึ้นไปในชุมชนของประเทศไทย ตั้งแต่ กันยายน 2558 จนถึง มีนาคม 2559 ทำการสุ่มประชากร16 อำเภอ ใน 14 จังหวัด ครอบคลุมทุกภูมิภาคของประเทศไทย ด้วยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน และมีการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์และการบันทึกข้อมูลอิเล็คทรอนิกจากผู้สัมภาษณ์ที่ผ่านการฝึกอบรมจากทุกพื้นที่หลังจากนั้นจึงนำข้อมูลมาวิเคราะห์โดยใช้การวิเคราะห์ตัวแปรแบบถดถอดพหุโลจิตติกผลการศึกษา จากจำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม 4000 คน จาก 16 อำเภอ โดยการสัมภาษณ์โดยผู้ช่วยวิจัย และการการวิเคราะห์โดยความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันขั้นพื้นฐาน (BADL) และความสามรถในการทำกิจวัตรประจำวันโดยมีอุปกรณ์ช่วย (IADL) พบมี 236 คนที่ถูกคัดออกจากงานวิจัยเพราะไม่ตรงกับข้อบ่งชี้และข้อมูลไม่สมบูรณ์ และมีจำนวนทั้งสิ้น 3,764 ตัวอย่างที่ถูกนำมาวิเคราะห์ โดยเราพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีอายุในช่วง 50-59 ปี 37.6% อายุเฉลี่ย64 ปี และอายุมากที่สุด 97 (Median=62, Min=50, Max=97) และพบว่าหนึ่งในสามของกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ชาย และมีสิทธิการรักษาเป็นหลักประกันสุขภาพถึง 84.1% มีประสบการณ์การใช้บริการสาธารณสุข 85.2% หนึ่งในสามของกลุ่มเป้าหมายรู้สึกว่าบ้านของตนเองปลอดภัยและมีระบบชุมชนที่สนับสนุนพบผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงจากการประเมินความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันขึ้นพื้นฐาน (ADL) 1.7% และพบถึง 10.7% ที่ไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันโดยใช้อุปกรณ์ช่วย(IADL)จากการคำนวนโดยใช้คะแนนทั้งหมดและแบ่งระดับภาวะพึ่งพิงตามมาตรฐานของเครื่องมือ แต่หากวิเคราะห์โดยใช้เพียงมีข้อใดข้อหนึ่งที่มีภาวะพึ่งพิงจาก ADL จะพบความชุกถึงร้อยละ 19.5 และจากภาวะพึ่งพิงข้อใดข้อหนึ่งIADL จะพบความชุกถึงร้อยละ 35.50 ปัจจัยที่พบว่ามีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.05) ต่อภาวะพึ่งพิงคือ อายุ เพศ ศาสนา สถานะภาพ สมรส ระดับการศึกษา รายได้ของครัวเรือน การรับรู้ต่อสุขภาพตนเอง การสนับสนุนในชุมชน ศักยภาพการเรียน (cognitive function) ปัญหาการเคลื่อนไหวและปัญหาการมองเห็น เมื่อคำนวนหาความสัมพันธ์โดยการวิเคราะห์ตัวแปรแบบถดถอดพหุโลจิตติกพบ 8 ปัจจัยที่มีสามารถพยากรณ์การเกิดภาวะพึ่งพิงในผู้สูงอายุได้อย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติ ในผู้ที่มีอายุ 50 ปี ขึ้นไป โดยมีปัจจัยดังต่อไปนี้ อายุ, ระดับการศึกษา, รายได้ต่อครัวเรือน, การรับรู้ต่อภาวะสุขภาพ, การช่วยเหลือภภายในชุมชน, ความสามารถในการ เรียนรู้, ปัญหาการเคลื่อนไหวและการปัญหาการมองเห็นโดยสรุปจากการศึกษาเราพบหลายปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดภาวะพึ่งพิงในผู้สูงอายุ และพบว่ามีหลายปัจจัยที่สามารถแก้ไขและป้องกันได้ จากผลการศึกษานี้ทำให้เราเข้าสถานการณ์ปัจจุบันของภาวะพึ่งพิงในผู้สูงอายุและสามารถนำข้อมูลเหล่านี้มาช่วยในการวางแผนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายและทำให้เกิดระบบสุขภาพที่ดูแลผู้สูงอายุได้
จากประชาการผู้สูงอายุมีมีจำนวนมากขึ้นในหลายประเทศ และประเทศไทยก็เป็นประเทศหนึ่งพี่พบว่ามีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น โดยจากการสำรวจพบว่าจำนวนผู้สูงอายุในประเทศไทยมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากการสำรวจและคาดการพบว่าจากสัดส่วนจำนวนผู้สูงอายุ 13.2 เปอเซ็นต์ ในปี ค.ศ. 2010 จะเพิ่มขึ้นเป็น 32.1 เปอเซ็นต์ ในปี ค.ศ. 2040 และการเกิดภาวะพึ่งพิงในผู้สูงอายุเป็นปัญหาหนึ่งที่สำคัญ และจะเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆเมื่อมีประชากรผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น ซึ่งเมื่อเกิดภาวะพึ่งพิงผู้สูงอายุจำเป็นต้องได้รับการดูแลในหลายมิติและต้องใช้ทรัพยากรเป็นอย่างมากในการดูแล การศึกษาในครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงความชุกของภาวะพิงในผู้ที่มีอายุ 50 ปี ขึ้นไปและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในประเทศไทย วิธีการการศึกษา เป็นการศึกษาวิจัยเชิงพรรณณาภาคตัดขวางจากการสำรวจผู้ที่มีอายุ 50 ปี ขึ้นไปในชุมชนของประเทศไทย ตั้งแต่ กันยายน 2558 จนถึง มีนาคม 2559 ทำการสุ่มประชากร16 อำเภอ ใน 14 จังหวัด ครอบคลุมทุกภูมิภาคของประเทศไทย ด้วยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน และมีการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์และการบันทึกข้อมูลอิเล็คทรอนิกจากผู้สัมภาษณ์ที่ผ่านการฝึกอบรมจากทุกพื้นที่หลังจากนั้นจึงนำข้อมูลมาวิเคราะห์โดยใช้การวิเคราะห์ตัวแปรแบบถดถอดพหุโลจิตติกผลการศึกษา จากจำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม 4000 คน จาก 16 อำเภอ โดยการสัมภาษณ์โดยผู้ช่วยวิจัย และการการวิเคราะห์โดยความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันขั้นพื้นฐาน (BADL) และความสามรถในการทำกิจวัตรประจำวันโดยมีอุปกรณ์ช่วย (IADL) พบมี 236 คนที่ถูกคัดออกจากงานวิจัยเพราะไม่ตรงกับข้อบ่งชี้และข้อมูลไม่สมบูรณ์ และมีจำนวนทั้งสิ้น 3,764 ตัวอย่างที่ถูกนำมาวิเคราะห์ โดยเราพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีอายุในช่วง 50-59 ปี 37.6% อายุเฉลี่ย64 ปี และอายุมากที่สุด 97 (Median=62, Min=50, Max=97) และพบว่าหนึ่งในสามของกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ชาย และมีสิทธิการรักษาเป็นหลักประกันสุขภาพถึง 84.1% มีประสบการณ์การใช้บริการสาธารณสุข 85.2% หนึ่งในสามของกลุ่มเป้าหมายรู้สึกว่าบ้านของตนเองปลอดภัยและมีระบบชุมชนที่สนับสนุนพบผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงจากการประเมินความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันขึ้นพื้นฐาน (ADL) 1.7% และพบถึง 10.7% ที่ไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันโดยใช้อุปกรณ์ช่วย(IADL)จากการคำนวนโดยใช้คะแนนทั้งหมดและแบ่งระดับภาวะพึ่งพิงตามมาตรฐานของเครื่องมือ แต่หากวิเคราะห์โดยใช้เพียงมีข้อใดข้อหนึ่งที่มีภาวะพึ่งพิงจาก ADL จะพบความชุกถึงร้อยละ 19.5 และจากภาวะพึ่งพิงข้อใดข้อหนึ่งIADL จะพบความชุกถึงร้อยละ 35.50 ปัจจัยที่พบว่ามีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.05) ต่อภาวะพึ่งพิงคือ อายุ เพศ ศาสนา สถานะภาพ สมรส ระดับการศึกษา รายได้ของครัวเรือน การรับรู้ต่อสุขภาพตนเอง การสนับสนุนในชุมชน ศักยภาพการเรียน (cognitive function) ปัญหาการเคลื่อนไหวและปัญหาการมองเห็น เมื่อคำนวนหาความสัมพันธ์โดยการวิเคราะห์ตัวแปรแบบถดถอดพหุโลจิตติกพบ 8 ปัจจัยที่มีสามารถพยากรณ์การเกิดภาวะพึ่งพิงในผู้สูงอายุได้อย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติ ในผู้ที่มีอายุ 50 ปี ขึ้นไป โดยมีปัจจัยดังต่อไปนี้ อายุ, ระดับการศึกษา, รายได้ต่อครัวเรือน, การรับรู้ต่อภาวะสุขภาพ, การช่วยเหลือภภายในชุมชน, ความสามารถในการ เรียนรู้, ปัญหาการเคลื่อนไหวและการปัญหาการมองเห็นโดยสรุปจากการศึกษาเราพบหลายปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดภาวะพึ่งพิงในผู้สูงอายุ และพบว่ามีหลายปัจจัยที่สามารถแก้ไขและป้องกันได้ จากผลการศึกษานี้ทำให้เราเข้าสถานการณ์ปัจจุบันของภาวะพึ่งพิงในผู้สูงอายุและสามารถนำข้อมูลเหล่านี้มาช่วยในการวางแผนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายและทำให้เกิดระบบสุขภาพที่ดูแลผู้สูงอายุได้
Description
Primary Health Care Management (Mahidol University 2017)
Degree Name
Master in Primary Health Care Management
Degree Level
Master's degree
Degree Department
ASEAN Institute for Health Development
Degree Discipline
Primary Health Care Management
Degree Grantor(s)
Mahidol University