การแปลบทภาพยนตร์เกาหลีเรื่อง [si] (Poetry) เป็นบทบรรยายภาษาไทย
Issued Date
2559
Copyright Date
2559
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
[ก]-ช, 172 แผ่น
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
สารนิพนธ์ (ศศ.ม. (ภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการสื่อสารและการพัฒนา))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2559
Suggested Citation
อาสยา อภิชนางกูร การแปลบทภาพยนตร์เกาหลีเรื่อง [si] (Poetry) เป็นบทบรรยายภาษาไทย. สารนิพนธ์ (ศศ.ม. (ภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการสื่อสารและการพัฒนา))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2559. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92795
Title
การแปลบทภาพยนตร์เกาหลีเรื่อง [si] (Poetry) เป็นบทบรรยายภาษาไทย
Alternative Title(s)
Translation of the subtitles of the Korean movie Poetry into Thai
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
การแปลบทภาพยนตร์เกาหลีเรื่อง [si] (Poetry) เพื่อจัดทำเป็นบทบรรยายภาษาไทยนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพที่มีวัตถุประสงค์เพื่อนาความรู้ด้านการแปลที่ได้ศึกษามาใช้ปฏิบัติจริงรวมทั้งศึกษาปัญหาและวิธีการแก้ไขปัญหาการแปล ตลอดจนกลวิธีที่ใช้ในการแปลบทภาพยนตร์เพื่อจัดทำบทบรรยายใต้ภาพภาษาไทย ตามเงื่อนไขของการแปลบทบรรยายใต้ภาพสาหรับฉายในโรงภาพยนตร์ ผลการศึกษาปัญหาและวิธีการแก้ไขปัญหาการแปล แบ่งได้เป็น 2 ประเด็นหลัก คือ 1) ปัญหาด้านภาษาและวัฒนธรรม ได้แก่ การแปลคำศัพท์ที่ไม่มีในภาษาและวัฒนธรรมฉบับแปล การแปลคำบอกอาการหรือสภาพ การแปลคำวลี หรือประโยคที่ต้องอาศัยการตีความ การแปลคำลักษณนาม การแปลข้อความเชิงเปรียบเทียบ และการแปลบทสวดทางศาสนาและบทกวี และ 2) ปัญหาด้านเทคนิค ได้แก่ ข้อจำกัดเรื่องจำนวนตัวอักษร ส่วนผลการศึกษากลวิธีในการแปลสามารถ แบ่งได้เป็น 4 ประเด็นหลัก ได้แก่ 1) การแปลบทสนทนา 2) การแปลคำ วลีหรือสำนวนที่เทียบเคียงไม่ได้ในภาษาฉบับแปล 3) การแปลชื่อเฉพาะ และ 4) การแปลบทสวดทางศาสนาและบทกวี จากผลการศึกษาปัญหาการแปล วิธีการแก้ไขปัญหา รวมทั้งกลวิธีที่ใช้ในการแปลบทภาพยนตร์ดังกล่าว สามารถสรุปได้ว่า กลวิธีในการแปลและวิธีการแก้ปัญหาการแปลที่ใช้เป็น แนวทางหลักในงานวิจัยฉบับนี้ คือ การแปลแบบเอาความ ที่มุ่งเน้นเพื่อรักษาต้นฉบับ ทั้งในด้านความหมาย ลีลาภาษา และเจตนาของสาร ไว้ให้ได้มากที่สุด โดยพิจารณาปรับให้เข้ากับบริบทนั้น ๆ เพื่อความเป็นธรรมชาติในภาษาและวัฒนธรรมฉบับแปล
This is a qualitative study, the objectives of which are to use knowledge of translation theories in practice and to investigate the problems and the solutions encountered during translation, including strategies adopted to translate the Korean subtitles of the movie [si] (Poetry) into Thai. The results reveal that the problems and solutions in translating the subtitling can be divided into 2 main categories, namely, language and cultural difficulties which include the translations of 1) non-existent words in Thai, 2) phenomimes, 3) words, phrases, or sentences that require interpretation for meanings, 4) classifiers, 5) metaphors, and 6) religious prayers and poems, and technical problems caused by limitations of screen space for Thai subtitles. There were four translation strategies identified: 1) translation of conversations, 2) translation of words, phrases, or idioms that do not exist in Thai, 3) translation of proper nouns, and 4) translation of religious prayers and poems. In sum, the main strategy used for translating these Korean subtitles into Thai was free translation which focuses on maintaining the source text's meaning, style, and intention. The adaptation of the source text is also adopted to make the target text suitable for the context and sound natural to the Thai audience.
This is a qualitative study, the objectives of which are to use knowledge of translation theories in practice and to investigate the problems and the solutions encountered during translation, including strategies adopted to translate the Korean subtitles of the movie [si] (Poetry) into Thai. The results reveal that the problems and solutions in translating the subtitling can be divided into 2 main categories, namely, language and cultural difficulties which include the translations of 1) non-existent words in Thai, 2) phenomimes, 3) words, phrases, or sentences that require interpretation for meanings, 4) classifiers, 5) metaphors, and 6) religious prayers and poems, and technical problems caused by limitations of screen space for Thai subtitles. There were four translation strategies identified: 1) translation of conversations, 2) translation of words, phrases, or idioms that do not exist in Thai, 3) translation of proper nouns, and 4) translation of religious prayers and poems. In sum, the main strategy used for translating these Korean subtitles into Thai was free translation which focuses on maintaining the source text's meaning, style, and intention. The adaptation of the source text is also adopted to make the target text suitable for the context and sound natural to the Thai audience.
Description
ภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการสื่อสารและการพัฒนา (มหาวิทยาลัยมหิดล 2559)
Degree Name
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
Degree Discipline
ภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการสื่อสารและการพัฒนา
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล