Psychological capital and psychiatric disorders among homeless residing in shelters in Bangkok
dc.contributor.advisor | Thienchai Ngamthipwatthana | |
dc.contributor.advisor | Sucheera Phattharayuttawat | |
dc.contributor.author | Krittapas Thienwiwatnukul | |
dc.date.accessioned | 2024-01-10T01:27:08Z | |
dc.date.available | 2024-01-10T01:27:08Z | |
dc.date.copyright | 2020 | |
dc.date.created | 2020 | |
dc.date.issued | 2024 | |
dc.description | Clinical Psychology (Mahidol University 2020) | |
dc.description.abstract | The primary objective of this study was to investigate the level of psychological capital (PsyCap) and the prevalence rates of psychiatric disorders among the homeless who reside in shelters in Bangkok. The secondary objective was to understand the barriers to using healthcare services and the limitation of healthcare systems which affect healthcare seeking behavior among the homeless. Furthermore, the study investigated the helping systems employed at the shelters when encountering homeless people who have mental illnesses. The subjects were 116 homeless people who utilized shelters located in Bangkok and 15 workers at the shelters. The instruments in this study include Thai Psychological Inventory (TPCI), Mini International Neuropsychiatric Interview (MINI) - Thai version, and demographic questionnaires. Semi-structured interviews were used to investigate barriers to utilizing healthcare and the mental healthcare provided in the shelters. The result demonstrated an average to moderately high level of PsyCap (Mean=3.83, SD=0.72) and high prevalence rates of psychiatric disorders among homeless people at the shelters (61.2%). The most common psychiatric disorder was psychotic disorder (lifetime) (22.4%), followed by alcohol dependence (past 12 months) (21.6%), and major depressive episodes (current, 2 weeks) (20.7%). The level of PsyCap did not vary with the different psychiatric conditions of the homeless participants. The shelters' system of helping the mentally ill homeless residents and the barriers to utilizing healthcare were discussed. In conclusion, the prevalence rate of psychiatric disorders among homeless people residing in shelters is greater than the prevalence in the general population. Improvement in healthcare systems for the homeless, especially mental healthcare systems, should be considered urgently. | |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักในการสำรวจระดับต้นทุนทางจิตวิทยาและความชุกของโรคจิตเวชในกลุ่มคนไร้บ้านที่ใช้บริการศูนย์พักพิงในกรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค์รองในการทำความเข้าใจข้อจำกัดของกลุ่มคนไร้บ้านในการเข้าถึงบริการทางสุขภาพที่ส่งผลต่อการใช้บริการทางการแพทย์ตลอดจนระบบการให้ความช่วยเหลือผู้ใช้บริการที่มีความเจ็บป่วยทางจิตเวชของศูนย์พักพิง อาสาสมัครประกอบด้วยคนไร้บ้าน 116 คน และเจ้าหน้าที่ศูนย์พักพิง 15 คน เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วยแบบประเมินต้นทุนทางจิตวิทยาสำหรับคนไทย (TPCI), แบบสัมภาษณ์วินิจฉัยโรคทางจิตเวช (MINI) ฉบับภาษาไทย และแบบสัมภาษณ์ปัจจัยภูมิหลัง การสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างใช้ในการสำรวจข้อจำกัดในการใช้บริการทางการแพทย์ของคนไร้บ้านและกระบวนการให้ความช่วยเหลือของศูนย์พักพิง ผลการศึกษาพบว่าระดับต้นทุนทางจิตวิทยาของคนไร้บ้านมีค่าเฉลี่ยในระดับค่อนข้างสูง (Mean=3.83, SD=0.72) และร้อยละ 61.2% ของอาสาสมัครมีโรคทางจิตเวชอย่างน้อยหนึ่งชนิด การวินิจฉัยโรคจิตเวชที่ 9 พบได้มากในกลุ่มคนไร้บ้านได้แก่ โรคจิต (ตลอดชีพ) ร้อยละ 22.4 โรคติดสุรา (12 เดือน) ร้อยละ 21.6 และโรคซึมเศร้า (2 สัปดาห์) ร้อยละ 20.7 ระดับของตนทุนทางจิตวิทยาของคนไร้บ้านไม่แตกต่างกันเมื่อเปรียบเทียบกับการได้รับการวินิจฉัยโรคจิตเวชทุกชนิด ระบบให้การช่วยเหลือผู้ที่มีความเจ็บป่วยทางจิตและข้อจำกัดในการใช้บริการทางการแพทย์ได้อภิปรายในเนื้อหา การศึกษาครั้งนี้ชี้ให้เห็นถึงความชุกของโรคในกลุ่มคนไร้บ้านที่สูงกว่าประชากรทั่วไปอย่างมาก การให้บริการทางการแพทย์สำหรับกลุ่มคนไร้บ้าน โดยเฉพาะอย่างยิ9งการให้บริการทางจิตเวชเป็นประเด็นที่ควรเร่งพัฒนาการเพื่อให้บริการนั้นครอบคุลมและมีประสิทธิภาพ | |
dc.format.extent | xi, 158 leaves : ill. | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | Thesis (M.Sc. (Clinical Psychology))--Mahidol University, 2020 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92099 | |
dc.language.iso | eng | |
dc.publisher | Mahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | Mahidol University | |
dc.subject | Human capital -- Psychological aspects | |
dc.subject | Homeless persons -- Mental health services | |
dc.subject | Mental Disorders | |
dc.title | Psychological capital and psychiatric disorders among homeless residing in shelters in Bangkok | |
dc.title.alternative | ต้นทุนทางจิตวิทยาและโรคจิตเวชของคนไร้บ้านที่ใช้บริการศูนย์พักพิงในกรุงเทพมหานคร | |
dc.type | Master Thesis | |
dcterms.accessRights | open access | |
mods.location.url | http://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2562/557/6037495.pdf | |
thesis.degree.department | Faculty of Medicine Siriraj Hospital | |
thesis.degree.discipline | Clinical Psychology | |
thesis.degree.grantor | Mahidol University | |
thesis.degree.level | Master's degree | |
thesis.degree.name | Master of Science |