The determinant factors of the use of complementary and alternative medicine among older adults in Thailand
Issued Date
2024
Copyright Date
2018
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xi, 102 leaves : ill., map
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.P.H.M. (Primary Health Care Management))--Mahidol University, 2018
Suggested Citation
Nunthiya Khemphet The determinant factors of the use of complementary and alternative medicine among older adults in Thailand. Thesis (M.P.H.M. (Primary Health Care Management))--Mahidol University, 2018. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91783
Title
The determinant factors of the use of complementary and alternative medicine among older adults in Thailand
Alternative Title(s)
ปัจจัยที่กำหนดการใช้แพทย์ทางเลือกในผู้สูงอายุ ประเทศไทย
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
The world's elderly population is continuously and rapidly increasing at the same time as the worsening of their health evidenced by various chronic diseases among them. As a result, complementary and alternative medicine (CAM) is widely used ranging from 30 to 100% in this group of population. However, characteristics of CAM users and factors related to it are still not fully understood. Thus, there is a need to learn more about CAM use because of the rapidly increasing number of the elderly worldwide as well as in Thailand. Objective: To determine the prevalence and to identify determinant factors of complementary and alternative medicine (CAM) use among the elderly population in Thailand. Methodology: A cross-sectional study conducted with 3,977 elderly people aged over 50 years selected using multi-stage sampling from 16 districts in all parts of Thailand; the subjects were interviewed face-to-face by trained research assistants. A total of 3,771 respondents (94.1%) completed an electric form of questionnaire, and data were analyzed with chi-square and multiple logistic regressions. Results: The prevalence of CAM use among the elderly across Thailand during the last twelve months was 93.9%. The five most used CAM found were: prayer for own health (57.7%), herbs (45.8%), vitamins/minerals (30.7%), massage (29.8%), and meditation (25.8%), respectively. The results of multiple logistic regression analysis revealed that predictors of CAM use were: religion (Buddhism) (AOR=0.50; 95% CI =0.25-0.98), occupation (agriculture) (AOR=1.99 , 95% CI =1.04-3.79), region (north eastern) (AOR=2.16, 95% CI =1.17-3.98), cognitive problems (AOR=0.64, 95%CI =0.42-0.98), and frequency of healthcare visits (AOR=9.19, 95%CI =1.24-68.17). Conclusion: The findings provide more understanding of CAM use, which is popular among elderly Thai people, leading to health improvement plan for older people using CAM along with modern medicine to promote health, prevent diseases, provide treatment, and rehabilitation. These healthcare services can be provided by healthcare centers under the Ministry of Public Health in conjunction with religious and social organizations in order to improve quality of life of the elderly in the community
ประชากรผู้สูงอายุทั่วโลกเพิ่มจำนวนอย่างรวดเร็ว ในขณะที่ปัญหาสุขภาพและโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้นตามวัย แพทย์ทางเลือกเป็นที่นิยมของผู้สูงอายุเพื่อใช้ในการดูแลสุขภาพตนเอง ทำให้การใช้แพทย์ทางเลือกเพิ่มอย่างกว้างขวาง ความชุกในการใช้แพทย์ทางเลือกของผู้สูงอายุ ระหว่าง 30-100% การศึกษาการใช้และปัจจัยการใช้แพทย์ทางเลือกของผู้สูงอายุยังไม่ชัดเจนนัก จึงจำเป็นต้องศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องให้ทันกับการเพิ่มของผู้สูงอายุและการใช้แพทย์ทางเลือก วัตถุประสงค์การเพื่อหาความชุกและปัจจัยที่กำหนดต่อการใช้แพทย์ทางเลือกในผู้สูงอายุ ประเทศไทย วิธีการศึกษา การศึกษาแบบภาคตัดขวางเชิงพรรณาเก็บข้อมูลในประชากรที่มีอายุ 50 ปี ขึ้นไป จำนวน -3.977 คน ทำการสุ่มตัวอย่างประชากร จาก 16 อำเภอ ใน 14 จังหวัด ทุกภูมิภาคของประเทศไทย ด้วยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน โดยการสัมภาษณ์แบบตัวต่อตัว โดยผู้สัมภาษณ์ที่ผ่านการอบรม บันทึกข้อมูลอิเลกทรอนิกส์ แบบสอบถามครบถ้วน 3,743 คน คิดเป็นร้อยละ 94.1 วิเคราะห์ ความสัมพันธ์ของการใช้แพทย์ทางเลือกกับปัจจัยแต่ละตัวโดยใช้สถิติไคสแควร์ และตัวแปรถดถอยลอจิสติกพหุคูณ ผลการศึกษา พบว่ามีผู้ตอบ กลุ่มตัวอย่างอายุมากกว่า 60 ปี ร้อยละ 62.3 ผู้สูงอายุใช้แพทย์ทางเลือกร้อยละ 93.9 อย่างน้อยหนึ่งชนิด ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา 5 อันดับแรกที่ผู้สูงอายุนิยมใช้ ได้แก่ การสวดมนต์เพื่อสุขภาพ (57.7 %) สมุนไพร (45.8 %) วิตามินและแร่ธาตุ (30.7 %) นวด (29.8 %) และสมาธิ (25.8 %) ผลการศึกษาถดถอยลอจิสติกพหุคูณ พบว่าศาสนาพุทธ อาชีพเกษตรกร ภาค ปัญหาเรื่องความจำ และการใช้บริการแพทย์แผนปัจจุบันบ่อย มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญ กับการรักษาด้วยแพทย์ทางเลือก บทสรุปพบว่า ผู้สูงอายุในประเทศไทยนิยมใช้แพทย์ทางเลือก ผลการศึกษานี้เป็นข้อมูลสำคัญในการเข้าใจบริบทการรักษาแพทย์ทางเลือกในผู้สูงอายุเพื่อนำไปสู่การวางแผนพัฒนาสุขภาพของผู้สูงอายุ ควบคู่กับการรักษาแพทย์แผนปัจจุบัน ในการส่งเสริม ป้องกัน รักษาและฟื้นฟู การจัดบริการในสถานบริการสาธารณสุข ร่วมกับหน่วยงานทางศาสนาและกลุ่มทางสังคม เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุในชุมชน
ประชากรผู้สูงอายุทั่วโลกเพิ่มจำนวนอย่างรวดเร็ว ในขณะที่ปัญหาสุขภาพและโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้นตามวัย แพทย์ทางเลือกเป็นที่นิยมของผู้สูงอายุเพื่อใช้ในการดูแลสุขภาพตนเอง ทำให้การใช้แพทย์ทางเลือกเพิ่มอย่างกว้างขวาง ความชุกในการใช้แพทย์ทางเลือกของผู้สูงอายุ ระหว่าง 30-100% การศึกษาการใช้และปัจจัยการใช้แพทย์ทางเลือกของผู้สูงอายุยังไม่ชัดเจนนัก จึงจำเป็นต้องศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องให้ทันกับการเพิ่มของผู้สูงอายุและการใช้แพทย์ทางเลือก วัตถุประสงค์การเพื่อหาความชุกและปัจจัยที่กำหนดต่อการใช้แพทย์ทางเลือกในผู้สูงอายุ ประเทศไทย วิธีการศึกษา การศึกษาแบบภาคตัดขวางเชิงพรรณาเก็บข้อมูลในประชากรที่มีอายุ 50 ปี ขึ้นไป จำนวน -3.977 คน ทำการสุ่มตัวอย่างประชากร จาก 16 อำเภอ ใน 14 จังหวัด ทุกภูมิภาคของประเทศไทย ด้วยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน โดยการสัมภาษณ์แบบตัวต่อตัว โดยผู้สัมภาษณ์ที่ผ่านการอบรม บันทึกข้อมูลอิเลกทรอนิกส์ แบบสอบถามครบถ้วน 3,743 คน คิดเป็นร้อยละ 94.1 วิเคราะห์ ความสัมพันธ์ของการใช้แพทย์ทางเลือกกับปัจจัยแต่ละตัวโดยใช้สถิติไคสแควร์ และตัวแปรถดถอยลอจิสติกพหุคูณ ผลการศึกษา พบว่ามีผู้ตอบ กลุ่มตัวอย่างอายุมากกว่า 60 ปี ร้อยละ 62.3 ผู้สูงอายุใช้แพทย์ทางเลือกร้อยละ 93.9 อย่างน้อยหนึ่งชนิด ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา 5 อันดับแรกที่ผู้สูงอายุนิยมใช้ ได้แก่ การสวดมนต์เพื่อสุขภาพ (57.7 %) สมุนไพร (45.8 %) วิตามินและแร่ธาตุ (30.7 %) นวด (29.8 %) และสมาธิ (25.8 %) ผลการศึกษาถดถอยลอจิสติกพหุคูณ พบว่าศาสนาพุทธ อาชีพเกษตรกร ภาค ปัญหาเรื่องความจำ และการใช้บริการแพทย์แผนปัจจุบันบ่อย มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญ กับการรักษาด้วยแพทย์ทางเลือก บทสรุปพบว่า ผู้สูงอายุในประเทศไทยนิยมใช้แพทย์ทางเลือก ผลการศึกษานี้เป็นข้อมูลสำคัญในการเข้าใจบริบทการรักษาแพทย์ทางเลือกในผู้สูงอายุเพื่อนำไปสู่การวางแผนพัฒนาสุขภาพของผู้สูงอายุ ควบคู่กับการรักษาแพทย์แผนปัจจุบัน ในการส่งเสริม ป้องกัน รักษาและฟื้นฟู การจัดบริการในสถานบริการสาธารณสุข ร่วมกับหน่วยงานทางศาสนาและกลุ่มทางสังคม เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุในชุมชน
Description
Primary Health Care Management (Mahidol University 2018)
Degree Name
Master of Primary Health Care Management
Degree Level
Master's degree
Degree Department
ASEAN Institute for Health Development
Degree Discipline
Primary Health Care Management
Degree Grantor(s)
Mahidol University