Air assimilative capacity for sulfur dioxide and nitrogen dioxide in the Eastern and Southern regions of Thailand
Issued Date
2014
Copyright Date
2014
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xiii, 142 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Environmental Technology))--Mahidol University, 2014
Suggested Citation
Jaeraya Ruangkawsakun Air assimilative capacity for sulfur dioxide and nitrogen dioxide in the Eastern and Southern regions of Thailand. Thesis (M.Sc. (Environmental Technology))--Mahidol University, 2014. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/95210
Title
Air assimilative capacity for sulfur dioxide and nitrogen dioxide in the Eastern and Southern regions of Thailand
Alternative Title(s)
ขีดความสามารถทางอากาศในการรองรับซัลเฟอร์ไดออกไซด์และไนโตรเจนไดออกไซด์ในภาคตะวันออกและภาคใต้ของประเทศไทย
Author(s)
Abstract
Industrial site selection based on environmental criteria with the purpose of minimizing environmental impacts is a major problem. It is especially important when the proposed industry causes air pollution. In this research, the air assimilative capacity of the Eastern and Southern regions of Thailand was estimated by using ventilation coefficient data and an air quality model. A Box Model was used to predict the spatial and temporal distributions of two pollutants, namely sulfur dioxide and nitrogen dioxide. Screen View was applied to verify the assimilative capacity result by mean of air pollution dispersion theory. Meteorological characteristics of the study area in the year 2010 were selected in the analysis. For spatial analytical results, both the Eastern and Southern regions of Thailand were aligned with the coast which has an influence on potential of pollutant dispersion. Overall results indicated that the closer the area to the sea, the higher potential for air pollution dispersion. Temporal results indicated that the influence of the northeast monsoon resulted in the high dilution ability of the atmosphere. The period of November to January had higher potential for air pollutant assimilation than other months. In conclusion, the assimilative capacity of the atmosphere depended on the potential of air pollutant dispersion which was directly proportional to the ventilation coefficient. The temporal variation of the potential of air pollutant dispersion mainly depended on prevailing wind of each area. In addition, the assimilation potential in terms of the emission load which was estimated can be used for the siting of emission sources in the region under different industrial growth scenarios. This approach might provide guidelines to the environmental regulatory authorities and to the industries for environment friendly industrial development.
การเลือกที่ตั้งอุตสาหกรรมบนพื้นฐานของกฎเกณฑ์ทางด้านสิ่งแวดล้อมด้วยวัตถุประสงค์เพื่อการ ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่เป็นปัญหาหลัก สำคัญอย่างยิ่งเมื่ออุตสาหกรรมเป็นสาเหตุของการเกิดมลพิษทาง อากาศ ในงานวิจัยนี้ขีดความสามารถในการรองรับทางอากาศของภาคตะวันออกและภาคใต้ของประเทศไทยถูก ประเมินโดยใช้ค่าสัมประสิทธ์ิการระบายและแบบจำลองคุณภาพอากาศ Box Model ถูกนำมาใช้ในการคาดการณ์ ลักษณะเชิงพื้นที่และเชิงเวลาของมลพิษสองชนิดคือ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์และไนโตรเจนไดออกไซด์ Screen View นำมาใช้ในการพิสูจน์ผลของค่าขีดความสามารถในการรองรับทางอากาศโดยใช้ทฤษฎีการแพร่กระจายมลพิษทาง อากาศ ส่วนของข้อมูลทางด้านอุตุนิยมวิทยาของพื้นที่ศึกษาใช้ข้อมูลปี ค.ศ. 2010 มาทำการวิเคราะห์ในงานวิจัย ผลการวิเคราะห์เชิงพื้นที่พบว่า ทั้งภาคตะวันออกและภาคใต้ของประเทศไทยมีแนวพื้นที่ติดกับทะเลซึ่งมีอิทธิพล ต่อศักยภาพการแพร่กระจายสารมลพิษ ในภาพรวมของทั้งสองภูมิภาคพบว่ายิ่งพื้นที่ใกล้กับทะเล ยิ่งมีศักยภาพสูง สำหรับการกระจายสารมลพิษ สำหรับผลการวิเคราะห์เชิงเวลาพบว่า อิทธิพลของลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ส่งผลให้ความสามารถในการเจือจางทางอากาศมีค่าสูง ช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมกราคมจึงมีศักยภาพในการ รองรับมลพิษทางอากาศมากกว่าเดือนอื่นๆ โดยสรุปแล้วขีดความสามารถในการรองรับทางอากาศขึ้นอยู่กับ ศักยภาพของการแพร่กระจายมลพิษทางอากาศซึ่งเป็นสัดส่วนโดยตรงกันกับค่าสัมประสิทธ์ิการแพร่กระจาย ขีด ความสามารถในการรองรับมลพิษทางอากาศจึงแตกต่างกันในแต่ละช่วงเวลาขึ้นกับคุณลักษณะของลมประจำถิ่น ในพื้นที่ นอกจากนี้ค่าศักยภาพในการรองรับในส่วนของปริมาณการระบายมลพิษทางอากาศที่ถูกประเมินนี้ สามารถใช้เป็นข้อมูลเพื่อการพิจารณาการเลือกที่ตั้งแหล่งกำเนิดมลพิษทางอากาศในภูมิภาค ภายใต้สถานการณ์การ เติบโตของอุตสาหกรรมที่แตกต่างกัน วิธีการนี้ถือเป็ นแนวทางให้กับหน่วยงานที่กำกับดูแลสิ่งแวดล้อมและ โรงงานอุตสาหกรรมเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
การเลือกที่ตั้งอุตสาหกรรมบนพื้นฐานของกฎเกณฑ์ทางด้านสิ่งแวดล้อมด้วยวัตถุประสงค์เพื่อการ ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่เป็นปัญหาหลัก สำคัญอย่างยิ่งเมื่ออุตสาหกรรมเป็นสาเหตุของการเกิดมลพิษทาง อากาศ ในงานวิจัยนี้ขีดความสามารถในการรองรับทางอากาศของภาคตะวันออกและภาคใต้ของประเทศไทยถูก ประเมินโดยใช้ค่าสัมประสิทธ์ิการระบายและแบบจำลองคุณภาพอากาศ Box Model ถูกนำมาใช้ในการคาดการณ์ ลักษณะเชิงพื้นที่และเชิงเวลาของมลพิษสองชนิดคือ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์และไนโตรเจนไดออกไซด์ Screen View นำมาใช้ในการพิสูจน์ผลของค่าขีดความสามารถในการรองรับทางอากาศโดยใช้ทฤษฎีการแพร่กระจายมลพิษทาง อากาศ ส่วนของข้อมูลทางด้านอุตุนิยมวิทยาของพื้นที่ศึกษาใช้ข้อมูลปี ค.ศ. 2010 มาทำการวิเคราะห์ในงานวิจัย ผลการวิเคราะห์เชิงพื้นที่พบว่า ทั้งภาคตะวันออกและภาคใต้ของประเทศไทยมีแนวพื้นที่ติดกับทะเลซึ่งมีอิทธิพล ต่อศักยภาพการแพร่กระจายสารมลพิษ ในภาพรวมของทั้งสองภูมิภาคพบว่ายิ่งพื้นที่ใกล้กับทะเล ยิ่งมีศักยภาพสูง สำหรับการกระจายสารมลพิษ สำหรับผลการวิเคราะห์เชิงเวลาพบว่า อิทธิพลของลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ส่งผลให้ความสามารถในการเจือจางทางอากาศมีค่าสูง ช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมกราคมจึงมีศักยภาพในการ รองรับมลพิษทางอากาศมากกว่าเดือนอื่นๆ โดยสรุปแล้วขีดความสามารถในการรองรับทางอากาศขึ้นอยู่กับ ศักยภาพของการแพร่กระจายมลพิษทางอากาศซึ่งเป็นสัดส่วนโดยตรงกันกับค่าสัมประสิทธ์ิการแพร่กระจาย ขีด ความสามารถในการรองรับมลพิษทางอากาศจึงแตกต่างกันในแต่ละช่วงเวลาขึ้นกับคุณลักษณะของลมประจำถิ่น ในพื้นที่ นอกจากนี้ค่าศักยภาพในการรองรับในส่วนของปริมาณการระบายมลพิษทางอากาศที่ถูกประเมินนี้ สามารถใช้เป็นข้อมูลเพื่อการพิจารณาการเลือกที่ตั้งแหล่งกำเนิดมลพิษทางอากาศในภูมิภาค ภายใต้สถานการณ์การ เติบโตของอุตสาหกรรมที่แตกต่างกัน วิธีการนี้ถือเป็ นแนวทางให้กับหน่วยงานที่กำกับดูแลสิ่งแวดล้อมและ โรงงานอุตสาหกรรมเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
Description
Environmental Technology (Mahidol University 2014)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Public Health
Degree Discipline
Environmental Technology
Degree Grantor(s)
Mahidol University