Perception of people towards the role and behavior in task performance of the police in Nakhorn Pathom province
Issued Date
2002
Copyright Date
2002
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
viii, 83 leaves
ISBN
9740418058
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.A. (Criminology and Criminal Justice))--Mahidol University, 2002
Suggested Citation
Sompong Saimonka Perception of people towards the role and behavior in task performance of the police in Nakhorn Pathom province. Thesis (M.A. (Criminology and Criminal Justice))--Mahidol University, 2002. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/107346
Title
Perception of people towards the role and behavior in task performance of the police in Nakhorn Pathom province
Alternative Title(s)
การรับรู้ของประชาชนต่อบทบาทและพฤติกรรมในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ตำรวจจังหวัดนครปฐม
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
The objectives of the study was to find the perception of the people in Nakhorn Pathom Province towards the roles and behavior in task performance of the police officers and to find the factors affecting the perception. The data were collected from 282 people who attended provincial police stations in Nakhorn Pathom Province to claim as victims of crimes in Life and Property via questionnaires. The data were analyzed by using SPSS for Windows statistics program. The summary of the results of the study is as follows : 1. The subjects had high positive perception towards the roles and behavior in task performance of the police officers in Criminal Justice Provision. 2. The subjects had moderate positive perception towards the roles and behavior in task performance of the police officers in General Services, Safety in Life and Property Protection, Traffic Control and Management, Public Relation and Cooperation Search, and Settings and Environment Improvement. 3. The subjects who had differences in gender, age, education, occupation, income and contact with police had differences in positive perception towards the roles and behavior in task performance of the police officers. The author recommends that there should be more distribution of knowledge concerning law enforcement to the people and there should be increased of co-operation between the people and the police in crime prevention and suppression.
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบการรับรู้ของประชาชนในจังหวัดนครปฐม ต่อ บทบาทและพฤติกรรมในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ตำรวจและเพื่อหาปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้นั้น การวิจัยทำโดยเก็บข้อมูลจากประชาชนผู้เข้าแจ้งความในสถานีตำรวจภูธรในจังหวัดนครปฐม เพื่อร้องทุกข์เกี่ยวกับอาชญากรรมต่อชีวิตและทรัพย์สิน จำนวน 282 คน โดยใช้แบบสอบถามข้อมูลทั้งหมดได้ทำการวิเคราะห์โดยใช้สถิติ SPSS ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ประชาชนมีการรับรู้ในทางบวกสูงต่อบทบาทและพฤติกรรมในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ตำรวจในด้านการอำนวยความยุติธรรม 2. ประชาชนมีการรับรู้ในทางบวกปานกลางต่อบทบาทและพฤติกรรมในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ตำรวจในด้านงานบริการทั่วไป การป้องกันความปลอดภัยในชีวิต การควบคุม และจัดการจราจร การประชาสัมพันธ์ และการแสวงหาความร่วมมือ รวมทั้งการปรับปรุงสภาพที่ทำงานและสภาพแวดล้อม 3. ประชาชนที่มีความแตกต่างในด้านเพศ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้ และการติดต่อสัมพันธ์กับตำรวจ มีการรับรู้ทางบวกต่อบทบาทและพฤติกรรมในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ตำรวจแตกต่างกัน ผู้วิจัยเสนอแนะให้มีการให้ความรู้แก่ประชาชนในด้านของการบังคับใช้กฎหมายและการเพิ่มการมีส่วนร่วมของประชาชนต่อเจ้าหน้าที่ตำรวจในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบการรับรู้ของประชาชนในจังหวัดนครปฐม ต่อ บทบาทและพฤติกรรมในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ตำรวจและเพื่อหาปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้นั้น การวิจัยทำโดยเก็บข้อมูลจากประชาชนผู้เข้าแจ้งความในสถานีตำรวจภูธรในจังหวัดนครปฐม เพื่อร้องทุกข์เกี่ยวกับอาชญากรรมต่อชีวิตและทรัพย์สิน จำนวน 282 คน โดยใช้แบบสอบถามข้อมูลทั้งหมดได้ทำการวิเคราะห์โดยใช้สถิติ SPSS ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ประชาชนมีการรับรู้ในทางบวกสูงต่อบทบาทและพฤติกรรมในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ตำรวจในด้านการอำนวยความยุติธรรม 2. ประชาชนมีการรับรู้ในทางบวกปานกลางต่อบทบาทและพฤติกรรมในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ตำรวจในด้านงานบริการทั่วไป การป้องกันความปลอดภัยในชีวิต การควบคุม และจัดการจราจร การประชาสัมพันธ์ และการแสวงหาความร่วมมือ รวมทั้งการปรับปรุงสภาพที่ทำงานและสภาพแวดล้อม 3. ประชาชนที่มีความแตกต่างในด้านเพศ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้ และการติดต่อสัมพันธ์กับตำรวจ มีการรับรู้ทางบวกต่อบทบาทและพฤติกรรมในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ตำรวจแตกต่างกัน ผู้วิจัยเสนอแนะให้มีการให้ความรู้แก่ประชาชนในด้านของการบังคับใช้กฎหมายและการเพิ่มการมีส่วนร่วมของประชาชนต่อเจ้าหน้าที่ตำรวจในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม
Description
Criminology and Criminal Justice (Mahidol University 2002)
Degree Name
Master of Arts
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Social Sciences and Humanities
Degree Discipline
Criminology and Criminal Justice
Degree Grantor(s)
Mahidol University