A large scale reliable multicast
Issued Date
2001
Copyright Date
2001
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xiii, 108 leaves
ISBN
9740405967
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Computer Science))--Mahidol University, 2001
Suggested Citation
Tawan Phurat A large scale reliable multicast. Thesis (M.Sc. (Computer Science))--Mahidol University, 2001. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/103705
Title
A large scale reliable multicast
Alternative Title(s)
การส่งกระจายข้อมูลที่เชื่อถือได้สำหรับโครงข่ายขนาดใหญ่
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
A reliable and efficient data transfer control protocol is necessary for multicast application especially in a large-scale network environment. There are two major problems in controlling the data transfer. These are the implosion and exposure problem. Implosion is a problem in a multicast host when that host receives a lot of acknowledgement packets from many lost-packet-detected membership clients. This disturbs the processing load for the host. The exposure is the problem in multicast clients that receipt a lot of retransmission data packet as well as that are lost in route. This event makes the processing overload at the client level difficult. This thesis proposed two methods to reduce the two problems. The First method is called a first volunteer approach that reduces the number of acknowledgement packets to one packet. Next, the client from each local collision domain acknowledged the lost packet and then forwards a local retransmission packet to other clients. The second is called a router-based approach A modified multicast router will block the multicast host who receives redundant acknowledgement packets from another router. This means that with lost detection the multicast host can detection on receipt acknowledge only one receipt from all of the clients. The simulation results as compared with two classical reliable multicast methods include the traditional multicast (N1) and the last method is an improved traditional multicast (N2). The experiments indicate that the throughput results are satisfied within throughput constraints.
งานวิจัยนี้เป็นการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการรับส่งข้อมูลด้วยรูปแบบการส่งแบบ เจาะจง กลุ่มผู้รับที่ต้องการความเชื่อมั่นในการรับส่งข้อมูล ซึ่งจะต้องมีการควบคุม การรับส่งข้อมูล โดยผู้รับจะต้องทำการแจ้งความผิดพลาดกลับไปยังผู้ส่ง แต่เนื่องจาก จำนวนผู้รับซึ่งมีปริมาณมากจึงทำให้เกิดปัญหา ข้อความแจ้งความผิดพลาดไปรบกวนการ ทำงานของผู้ส่งทำให้อัตราการส่งข้อมูลลดลงและผลของปริมาณข้อความจำนวนมากที่ส่งผ่าน ไปยังโครงข่ายจะทำให้ผู้อื่นใช้งานโครงข่ายได้น้อยลง งานวิจัยนี้จึงได้เสนอแนวทางใน การแก้ปัญหาดังกล่าว 2 วิธี คือให้ผู้รับทำหน้าที่ดูแลจัดการแทนผู้รับอื่นๆ ภายใน กลุ่มย่อยๆ และวิธีที่สองคือ ใช้อุปกรณ์เราต์เตอร์ในการกลั่นกรองข้อความที่ไม่ต้องการ เพื่อนำไปเปรียบเทียบผลกับวิธีการเดิมที่มีอยู่ก่อนแล้ว 2 วิธีคือ วิธีแรกคือให้ผู้รับ ที่ไม่ได้รับข้อมูลหรือได้รับข้อมูลผิดพลาดทำการส่งข้อความแจ้งความผิดพลาดไปยังผู้ ส่งด้วยรูปแบบการส่งแบบจุดต่อจุด และวิธีที่สองคือวิธีที่ได้ปรับปรุงขึ้นจากวิธีแรก โดยเปลี่ยนรูปแบบการส่งจากจุดต่อจุดไปเป็นรูปแบบจุดต่อหลายๆ จุด การวิจัยนี้จะทำการจำลองการรับส่งข้อมูลสำหรับโครงข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ และทำการทดสอบเพื่อเปรียบเทียบอัตราการรับส่งข้อมูลทั้งสี่วิธีภายใต้สภาพแวดล้อม เดียวกัน โดยสามารถกำหนดอัตราความผิดพลาดของการรับส่งได้ทั้งแบบกำหนดอัตราความ ผิดพลาดคงที่และแบบกำหนดช่วงพิสัยขั้นต่ำของอัตราความผิดพลาด จากผลการจำลองพบว่า วิธีการที่นำเสนอยังคงมีอัตราการรับส่งข้อมูลอยู่ในระดับ ที่ดีไม่น้อยไปกว่าวิธีการที่ได้ปรับปรุงจากดังเดิม และสามารถใช้วิธีการที่ได้นำ เสนอนี้เพื่อลดการส่งข้อมูลซ้ำๆ กันโดยไม่จำเป็นลงได้ ซึ่งความสามารถในการประยุกต์ใช้ กับโปรแกรมที่มีรูปแบบการรับส่งแบบจุดต่อหลายๆ จุดและต้องการความเชื่อมั่นในการ รับส่ง เช่นการส่งกระจายเสียงผ่านอินเตอร์เน็ทได้ต่อไป
งานวิจัยนี้เป็นการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการรับส่งข้อมูลด้วยรูปแบบการส่งแบบ เจาะจง กลุ่มผู้รับที่ต้องการความเชื่อมั่นในการรับส่งข้อมูล ซึ่งจะต้องมีการควบคุม การรับส่งข้อมูล โดยผู้รับจะต้องทำการแจ้งความผิดพลาดกลับไปยังผู้ส่ง แต่เนื่องจาก จำนวนผู้รับซึ่งมีปริมาณมากจึงทำให้เกิดปัญหา ข้อความแจ้งความผิดพลาดไปรบกวนการ ทำงานของผู้ส่งทำให้อัตราการส่งข้อมูลลดลงและผลของปริมาณข้อความจำนวนมากที่ส่งผ่าน ไปยังโครงข่ายจะทำให้ผู้อื่นใช้งานโครงข่ายได้น้อยลง งานวิจัยนี้จึงได้เสนอแนวทางใน การแก้ปัญหาดังกล่าว 2 วิธี คือให้ผู้รับทำหน้าที่ดูแลจัดการแทนผู้รับอื่นๆ ภายใน กลุ่มย่อยๆ และวิธีที่สองคือ ใช้อุปกรณ์เราต์เตอร์ในการกลั่นกรองข้อความที่ไม่ต้องการ เพื่อนำไปเปรียบเทียบผลกับวิธีการเดิมที่มีอยู่ก่อนแล้ว 2 วิธีคือ วิธีแรกคือให้ผู้รับ ที่ไม่ได้รับข้อมูลหรือได้รับข้อมูลผิดพลาดทำการส่งข้อความแจ้งความผิดพลาดไปยังผู้ ส่งด้วยรูปแบบการส่งแบบจุดต่อจุด และวิธีที่สองคือวิธีที่ได้ปรับปรุงขึ้นจากวิธีแรก โดยเปลี่ยนรูปแบบการส่งจากจุดต่อจุดไปเป็นรูปแบบจุดต่อหลายๆ จุด การวิจัยนี้จะทำการจำลองการรับส่งข้อมูลสำหรับโครงข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ และทำการทดสอบเพื่อเปรียบเทียบอัตราการรับส่งข้อมูลทั้งสี่วิธีภายใต้สภาพแวดล้อม เดียวกัน โดยสามารถกำหนดอัตราความผิดพลาดของการรับส่งได้ทั้งแบบกำหนดอัตราความ ผิดพลาดคงที่และแบบกำหนดช่วงพิสัยขั้นต่ำของอัตราความผิดพลาด จากผลการจำลองพบว่า วิธีการที่นำเสนอยังคงมีอัตราการรับส่งข้อมูลอยู่ในระดับ ที่ดีไม่น้อยไปกว่าวิธีการที่ได้ปรับปรุงจากดังเดิม และสามารถใช้วิธีการที่ได้นำ เสนอนี้เพื่อลดการส่งข้อมูลซ้ำๆ กันโดยไม่จำเป็นลงได้ ซึ่งความสามารถในการประยุกต์ใช้ กับโปรแกรมที่มีรูปแบบการรับส่งแบบจุดต่อหลายๆ จุดและต้องการความเชื่อมั่นในการ รับส่ง เช่นการส่งกระจายเสียงผ่านอินเตอร์เน็ทได้ต่อไป
Description
Computer Science (Mahidol University 2001)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Science
Degree Discipline
Computer Science
Degree Grantor(s)
Mahidol University