ปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตผู้ป่วยมะเร็งตับที่รับการรักษาด้วยการให้ยาเคมีบำบัดทางสายสวนหลอดเลือดแดง
dc.contributor.advisor | ผ่องศรี ศรีมรกต | |
dc.contributor.advisor | เกศศิริ วงษ์คงคำ | |
dc.contributor.advisor | สมราช ธรรมธรวัฒน์ | |
dc.contributor.author | อรุณ นิลเลิศ | |
dc.date.accessioned | 2024-01-05T02:02:17Z | |
dc.date.available | 2024-01-05T02:02:17Z | |
dc.date.copyright | 2561 | |
dc.date.created | 2561 | |
dc.date.issued | 2567 | |
dc.description | การพยาบาลผู้ใหญ่ (มหาวิทยาลัยมหิดล 2561) | |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงสำรวจแบบตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยเกี่ยวกับอาการอ่อนล้านอนไม่หลับและเบื่ออาหารในการทำนายคุณภาพชีวิตผู้ป่วยมะเร็งตับที่รับการรักษาด้วยการให้ยาเคมีบำบัดทางสายสวนหลอดเลือดแดงในระยะ 4-8 สัปดาห์โดยใช้แบบจำลองการจัดการอาการของ Dodd และคณะ (2001) เป็นกรอบแนวคิดในการศึกษา กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยมะเร็งตับที่รับการรักษาด้วยการให้ยาเคมีบำบัดทางสายสวนหลอดเลือดแดงจำนวน 77 คนโดยเลือกประชากรแบบเจาะจง เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินอาการอ่อนล้า อาการนอนไม่หลับ อาการเบื่ออาหารและคุณภาพชีวิตผู้ป่วยมะเร็งตับ ค่าความเชื่อมั่นของเครื่องมือ 0.97, 0.87, 0.84, 0.71 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอนผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีคุณภาพชีวิตในระดับดี (x =138.36, SD=22.99) มีอาการอ่อนล้าเล็กน้อย (x =19.31, SD=27.09) ไม่มีอาการนอนไม่หลับ (x =6.39, SD=7.74) และ อาการเบื่ออาหารปานกลาง (x =17.25, SD=5.55) การวิเคราะห์อิทธิพลในการทา นายพบว่า อาการอ่อนล้ามีอิทธิพลต่อความแปรปรวนของคุณภาพชีวิตมากที่สุด (ß=-.49, p=.00) ลำดับถัดมาคือ อาการเบื่ออาหาร (ß=-.38, p=.00) และอาการนอนไม่หลับ (ß=-.18, p=.00) โดยสามารถทำนายการเปลี่ยนแปลงคุณภาพชีวิตได้ร้อยละ 80 (R2= .80, F= 96.03, p=.00) | |
dc.description.abstract | This cross-sectional survey study aimed to identify the significant factors of fatigue, insomnia and anorexia for predicting quality of life among Hepatocellular Carcinoma (HCC) patients undergoing transarterial chemoembolization (TACE) within 4-8 weeks after operation based on symptom management model of Dodd et al (2001). The study sample consisted of 77 diagnosed HCC patients receiving TACE were recruited by a purposive sampling. The collective instruments were demographic information form, FSI, ISI, CNAQ and FACT-Hep. The Cronbach's alpha coefficient of instruments were 0.97, 0.87, 0.84, 0.71, respectively. Data were analyzed using descriptive statistics and multiple regression under stepwise technique. The results revealed that the participants perceived good quality of life (x=138.36, SD=22.99 , mild fatigue (x=19.31, SD=27.09) , no clinically significant insomnia (x=6.39, SD= 7.74 , and moderate anorexia (x=17.25, SD=5.55). All factors could significantly predict quality of life among HCC patients undergoing TACE within 4-8 weeks after operation. The highest significant factor was fatigue (?= -.49, p=.00), followed by anorexia (?=-.38, p=.00) and insomnia (?= -.18, p=.00). These three variables could predict perceived quality of life up to 80% (R2= .80, F= 96.03, p=.00). | |
dc.format.extent | ก-ญ, 174 แผ่น : ภาพประกอบ | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลผู้ใหญ่))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2561 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91888 | |
dc.language.iso | tha | |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยมหิดล. หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | มหาวิทยาลัยมหิดล | |
dc.subject | การรักษาด้วยสารน้ำ | |
dc.subject | การให้ยาทางสาย | |
dc.subject | คุณภาพชีวิต | |
dc.subject | เคมีบำบัด | |
dc.subject | ตับ, เนื้องอก | |
dc.subject | ตับ -- มะเร็ง | |
dc.title | ปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตผู้ป่วยมะเร็งตับที่รับการรักษาด้วยการให้ยาเคมีบำบัดทางสายสวนหลอดเลือดแดง | |
dc.title.alternative | Factors predicting quality of life among hepatocellular carcinoma patients undergoing transarterial chemoembolization | |
dc.type | Master Thesis | |
dcterms.accessRights | open access | |
mods.location.url | http://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2561/544/5936758.pdf | |
thesis.degree.department | คณะพยาบาลศาสตร์ | |
thesis.degree.discipline | การพยาบาลผู้ใหญ่ | |
thesis.degree.grantor | มหาวิทยาลัยมหิดล | |
thesis.degree.level | ปริญญาโท | |
thesis.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต |