Medical and economic burden of chronic hepatitis B patients at Queen Savang Vadhana Memorial Hospital
Issued Date
2023
Copyright Date
2013
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xv, 203 leaves : ill.
Access Rights
restricted access
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D. (Tropical Medicine))--Mahidol University, 2013
Suggested Citation
Chuenrutai Yeekian Medical and economic burden of chronic hepatitis B patients at Queen Savang Vadhana Memorial Hospital. Thesis (Ph.D. (Tropical Medicine))--Mahidol University, 2013. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89471
Title
Medical and economic burden of chronic hepatitis B patients at Queen Savang Vadhana Memorial Hospital
Alternative Title(s)
ภาวะทางการแพทย์และทางเศรษฐกิจของผู้ป่วยโรคไวรัสตับอักเสบบีที่รับการรักษาที่โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา
Author(s)
Abstract
This is a prospective study conducted among CHB patients at Queen Savang Vadhana Memorial Hospital. The purpose is to assess 1) the medical burden of CHB by using the EuroQOL-5D (EQ-5D), and the Chronic Liver Disease Questionnaire (CLDQ), and 2) the economic burden in a societal perspective by looking at direct medical cost, direct non-medical cost, and indirect cost. A total of 152, 140, and 129 CHB patients at D0, M6 and M12 were enrolled. The median (IQR) age was 39.0 (32.0-49.0) years. More than half (84 of 152 or 55.3%) treated with ARV were in the median (IQR) month of treatment 21.0 (9.0-31.0). Overall, mean (SD) CLDQ score increased from 5.48 (0.89) at D0, to 5.79 (0.87) at M6, to 5.98 (0.88) at M12 (full score = 7 scores). At D0, the most common sequences of EQ-5D quality of life dimensions where patients reported moderate or severe health impairments were pain/comfort (54.6%), anxiety (51.3%), mobility (13.2%), activity (13.2%), and self care (3.9%). The group classed as experiencing a severe medical burden (CLDQ score < 5) reported moderate or severe health impairments in all EQ-5D dimensions, and described a significantly increased work impairment compared to the group experiencing mild medical burden (CLDQ score >= 5). Out of159 patients, 129 (84.9%) completed a 12 month follow up. The total cost, direct medical cost, direct non-medical cost and indirect cost from work productivity loss were 5,879,645.20, 4,142,839.80, 585,553.00, and 1,169,252.40 Baht/year, respectively. The mean (SD) of these costs were 45,719.12 (64,647.43), 32,115.04 (54,259.40), 4,539.17 (6,353.99), and 9,063.97 (19,068.75) Baht/patient/year. Direct medical cost, direct non-medical cost, and indirect cost accounted for 70.25%, 9.93%, and 19.82% of total cost, respectively. Mean (SD) total cost of those with severe medical burden (CLDQ score < 5) was 57,494.83 (45,405.94) Baht/patient/year, compared to 41,671.22 (69,798.64) for those with mild medical burden (CLDQ score >= 5). There was no difference between total cost and direct medical cost between CLDQ < 5 scores and CLDQ >= 5 scores. However, the CLDQ < 5 scores group had on average a higher (SD) direct non-medical cost and indirect cost from work productivity loss than the CLDQ >= 5 scores group.
การศึกษานี้เป็นการศึกษาแบบไปข้างหน้า โดยทำการศึกษาผู้ป่วยโรคไวรัสตับอักเสบบีเรื้อรังที่โรงพยาบาลสมเด็จพระบรม ราชเทวี ณ ศรีราชา มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินภาระทางการแพทย์ โดยใช้แบบสอบถามคุณภาพชีวิต EQ-5D (EuroQol-5D: EQ-5D) และแบบ สำรวจสุขภาพตับ (CLDQ) ภาระทางเศรษฐกิจประเมินในมุมมองของสังคม ประกอบด้วย ต้นทุนทางตรงทางการแพทย์ ต้นทุนทางตรงที่ไม่ใช่ ต้นทุนทางการแพทย์ และต้นทุนทางอ้อม ผู้ป่วยโรคไวรัสตับอักเสบบีเรื้อรังที่ศึกษามีจำนวน 152 ราย ในวันแรก 140 ราย ในเดือนที่ 6 และ 129 ราย ในเดือนที่ 12 ผู้ป่วยส่วนใหญ่อายุ 39 ปี หรือระหว่าง 32 - 49 ปี มีผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสจำนวน 84 รายจาก 152 ราย คิดเป็น ร้อยละ 55.3 มีระยะเวลารักษาส่วนใหญ่เป็นเวลา 21 เดือน หรือระหว่าง 9-31 เดือน ผู้ป่วยโดยรวม มีค่าเฉลี่ย (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน) ของ คะแนนความรุนแรงของโรคตับที่ใช้แบบสำรวจสุขภาพตับ (คะแนนเต็ม 7 คะแนน) มากขึ้นจาก 5.48 (0.89) คะแนน ในวันแรกเป็น 5.79 (0.87) คะแนน ในเดือนที่ 6 และเป็น 5.98 (0.88) คะแนน ในเดือนที่ 12 คุณภาพชีวิตที่ประเมินโดยใช้แบบสอบถามคุณภาพชีวิต EQ-5D ในวันแรก พบ ผู้ป่วยให้ข้อมูลว่ามีการสูญเสียสมรรถภาพด้านสุขภาพในระดับปานกลางหรือมาก ในมิติด้านความปวด/ความสุขสบาย ร้อยละ 54.6 ความวิตกกังวล ร้อยละ 51.3 การเคลื่อนไหว ร้อยละ 13.2 การทำกิจกรรม ร้อยละ 13.2 และการดูแลตนเอง ร้อยละ 3.9 ตามลำดับ กลุ่ม ผู้ป่วยที่มีความรุนแรง ของโรคตับมากโดยมีคะแนนสำรวจสุขภาพตับน้อยกว่า 5 คะแนน ให้ข้อมูลว่ามีการสูญเสียสมรรถภาพด้านสุขภาพในระดับปานกลางหรือมาก โดยใช้แบบสอบถามคุณภาพชีวิต EQ-5D มากกว่ากล่มุ ผู้ป่วยที่มีความรุนแรงของโรคตับน้อยโดยมีคะแนนสำรวจสุขภาพตับมากกว่าหรือเท่ากับ 5 คะแนน อย่างมีนัยสำคัญ ในทุกมิติ ผู้ป่วยทั้งหมด 159 ราย มีการมาตรวจตามนัดครบ 12 เดือน จำนวน 129 ราย คิดเป็นร้อยละ 84.9 มีต้นทุนรวม 5,879,645.20 บาท/ปี ต้นทุนทางตรงทางการแพทย์ 4,142,839.80 บาท/ปี ต้นทุนทางตรงที่ไม่ใช่ต้นทุนทางการแพทย์ 585,553.00 บาท/ปี และต้นทุนทางอ้อม 1,169,252.40 บาท/ปี โดยมีค่าเฉลี่ย (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน) เท่ากับ 45,719.12 (64,647.43) บาท/ราย/ปี 32,115.04 (54,259.40) บาท/ราย/ปี 4,539.17 (6,353.99) บาท/ราย/ปี และ 9,063.97 (19,068.75) บาท/ราย/ปี ตามลำดับ ต้นทุนทางตรงทางการแพทย์ ต้นทุนทางตรงที่ไม่ใช่ต้นทุนทางการแพทย์ และต้นทุนทางอ้อม คิดเป็นร้อยละ 70.25, 9.93, 19.82 ของต้นทุนรวม ต้นทุนรวมของกลุ่มผู้ป่วยที่มีความรุนแรงของโรคตับมาก โดยมีคะแนนสำรวจสุขภาพตับน้อยกว่า 5 คะแนนและกลุ่มผู้ป่วยที่มีความรุนแรงของโรคตับน้อยโดยมีคะแนนสำรวจสุขภาพตับมากกว่าหรือ เท่ากับ 5 คะแนนมีค่าเฉลี่ย (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน) เท่ากับ 57,494.83 (45,405.94) และ 41,671.22 (69,798.64) บาทต่อรายต่อปี โดยมีต้นทุนรวม และต้นทุนทางตรงทางการแพทย์ไม่แตกต่างกัน อย่างไรก็ตาม กลุ่ม ผู้ป่วยที่มีคะแนนสำรวจสุขภาพตับน้อยกว่า 5 คะแนน มีต้นทุนทางตรงที่ไม่ใช่ต้นทุนทางการแพทย์ และต้นทุนทางอ้อมมากกว่ากล่มุ ผู้ป่วยที่มีคะแนนสำรวจสุขภาพตับมากกว่าหรือเท่ากับ 5 คะแนน อย่างมีนัยสำคัญ
การศึกษานี้เป็นการศึกษาแบบไปข้างหน้า โดยทำการศึกษาผู้ป่วยโรคไวรัสตับอักเสบบีเรื้อรังที่โรงพยาบาลสมเด็จพระบรม ราชเทวี ณ ศรีราชา มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินภาระทางการแพทย์ โดยใช้แบบสอบถามคุณภาพชีวิต EQ-5D (EuroQol-5D: EQ-5D) และแบบ สำรวจสุขภาพตับ (CLDQ) ภาระทางเศรษฐกิจประเมินในมุมมองของสังคม ประกอบด้วย ต้นทุนทางตรงทางการแพทย์ ต้นทุนทางตรงที่ไม่ใช่ ต้นทุนทางการแพทย์ และต้นทุนทางอ้อม ผู้ป่วยโรคไวรัสตับอักเสบบีเรื้อรังที่ศึกษามีจำนวน 152 ราย ในวันแรก 140 ราย ในเดือนที่ 6 และ 129 ราย ในเดือนที่ 12 ผู้ป่วยส่วนใหญ่อายุ 39 ปี หรือระหว่าง 32 - 49 ปี มีผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสจำนวน 84 รายจาก 152 ราย คิดเป็น ร้อยละ 55.3 มีระยะเวลารักษาส่วนใหญ่เป็นเวลา 21 เดือน หรือระหว่าง 9-31 เดือน ผู้ป่วยโดยรวม มีค่าเฉลี่ย (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน) ของ คะแนนความรุนแรงของโรคตับที่ใช้แบบสำรวจสุขภาพตับ (คะแนนเต็ม 7 คะแนน) มากขึ้นจาก 5.48 (0.89) คะแนน ในวันแรกเป็น 5.79 (0.87) คะแนน ในเดือนที่ 6 และเป็น 5.98 (0.88) คะแนน ในเดือนที่ 12 คุณภาพชีวิตที่ประเมินโดยใช้แบบสอบถามคุณภาพชีวิต EQ-5D ในวันแรก พบ ผู้ป่วยให้ข้อมูลว่ามีการสูญเสียสมรรถภาพด้านสุขภาพในระดับปานกลางหรือมาก ในมิติด้านความปวด/ความสุขสบาย ร้อยละ 54.6 ความวิตกกังวล ร้อยละ 51.3 การเคลื่อนไหว ร้อยละ 13.2 การทำกิจกรรม ร้อยละ 13.2 และการดูแลตนเอง ร้อยละ 3.9 ตามลำดับ กลุ่ม ผู้ป่วยที่มีความรุนแรง ของโรคตับมากโดยมีคะแนนสำรวจสุขภาพตับน้อยกว่า 5 คะแนน ให้ข้อมูลว่ามีการสูญเสียสมรรถภาพด้านสุขภาพในระดับปานกลางหรือมาก โดยใช้แบบสอบถามคุณภาพชีวิต EQ-5D มากกว่ากล่มุ ผู้ป่วยที่มีความรุนแรงของโรคตับน้อยโดยมีคะแนนสำรวจสุขภาพตับมากกว่าหรือเท่ากับ 5 คะแนน อย่างมีนัยสำคัญ ในทุกมิติ ผู้ป่วยทั้งหมด 159 ราย มีการมาตรวจตามนัดครบ 12 เดือน จำนวน 129 ราย คิดเป็นร้อยละ 84.9 มีต้นทุนรวม 5,879,645.20 บาท/ปี ต้นทุนทางตรงทางการแพทย์ 4,142,839.80 บาท/ปี ต้นทุนทางตรงที่ไม่ใช่ต้นทุนทางการแพทย์ 585,553.00 บาท/ปี และต้นทุนทางอ้อม 1,169,252.40 บาท/ปี โดยมีค่าเฉลี่ย (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน) เท่ากับ 45,719.12 (64,647.43) บาท/ราย/ปี 32,115.04 (54,259.40) บาท/ราย/ปี 4,539.17 (6,353.99) บาท/ราย/ปี และ 9,063.97 (19,068.75) บาท/ราย/ปี ตามลำดับ ต้นทุนทางตรงทางการแพทย์ ต้นทุนทางตรงที่ไม่ใช่ต้นทุนทางการแพทย์ และต้นทุนทางอ้อม คิดเป็นร้อยละ 70.25, 9.93, 19.82 ของต้นทุนรวม ต้นทุนรวมของกลุ่มผู้ป่วยที่มีความรุนแรงของโรคตับมาก โดยมีคะแนนสำรวจสุขภาพตับน้อยกว่า 5 คะแนนและกลุ่มผู้ป่วยที่มีความรุนแรงของโรคตับน้อยโดยมีคะแนนสำรวจสุขภาพตับมากกว่าหรือ เท่ากับ 5 คะแนนมีค่าเฉลี่ย (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน) เท่ากับ 57,494.83 (45,405.94) และ 41,671.22 (69,798.64) บาทต่อรายต่อปี โดยมีต้นทุนรวม และต้นทุนทางตรงทางการแพทย์ไม่แตกต่างกัน อย่างไรก็ตาม กลุ่ม ผู้ป่วยที่มีคะแนนสำรวจสุขภาพตับน้อยกว่า 5 คะแนน มีต้นทุนทางตรงที่ไม่ใช่ต้นทุนทางการแพทย์ และต้นทุนทางอ้อมมากกว่ากล่มุ ผู้ป่วยที่มีคะแนนสำรวจสุขภาพตับมากกว่าหรือเท่ากับ 5 คะแนน อย่างมีนัยสำคัญ
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Faculty of Tropical Medicine
Degree Discipline
Tropical Medicine
Degree Grantor(s)
Mahidol University