แนวทางการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารองค์กรกระบวนการยุติธรรม : ศึกษากรณีกรมสอบสวนคดีพิเศษ

dc.contributor.advisorฐานันดร์ศักดิ์ บวรทันทกุล
dc.contributor.advisorเชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล
dc.contributor.authorณัฐ วิมลพีรพัฒนา
dc.date.accessioned2024-01-23T01:30:45Z
dc.date.available2024-01-23T01:30:45Z
dc.date.copyright2556
dc.date.created2567
dc.date.issued2556
dc.descriptionอาชญาวิทยาและงานยุติธรรม (มหาวิทยาลัยมหิดล 2556)
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยเรื่อง แนวทางการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารงานองค์กรกระบวนการ ยุติธรรม : ศึกษากรณีกรมสอบสวนคดีพิเศษ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องและปัญหาอุปสรรครวมทั้ง ศึกษาแนวทางการแก้ไขการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารงานกรมสอบสวนคดีพิเศษ เป็นการศึกษาวิจัย แบบผสม (Mixed Method) ในเชิงปริมาณ (Quantitative Study) ได้ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลกับเจ้าพนักงาน สอบสวนคดีพิเศษ เจ้าหน้าที่คดีพิเศษ และข้าราชการในตำแหน่งทั่วไป จำนวน 289 คน และเชิงคุณภาพ (Qualitative Study) ได้ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีสนทนากลุ่ม (Focus Group) ข้าราชการปฏิบัติหน้าที่ฝ่าย บริหาร และฝ่ายปฏิบัติการของกรมสอบสวนคดีพิเศษ จำนวน 10 คน จากผลการวิจัยพบว่า 1) ด้านการศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบปัจจัยที่เกี่ยวข้องด้านปัจจัยส่วนบุคคลกับการนำนโยบายไป ปฏิบัติ พบว่าบุคลากรที่มีรายได้แตกต่างกันมีความคิดเห็นในการนำนโยบายไปปฏิบัติแตกต่างกัน ส่วนด้านปัจจัย ส่วนบุคคลกับการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล พบว่าบุคลากรที่มีสถานภาพสมรสและรายได้แตกต่างกันมี ความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ ปัจจัยการนำนโยบายไปปฎิบัติที่ส่งผลต่อความสำเร็จการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารได้แก่ ปัจจัยด้าน การติดตามประเมินผล ด้านทรัพยากรนโยบาย ด้านวัตถุประสงค์และมาตรฐานของนโยบาย พบว่ามีความสัมพันธ์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ 0.725 2) ด้านปัญหาและอุปสรรคในการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล ในภาพรวมพบปัญหาที่ต้อง ได้รับการแก้ไขพัฒนาทุกด้านโดยเฉพาะด้านนโยบายและด้านทรัพยากรมนุษย์ อันเนื่องจากเป็นปัจจัยสำคัญที่จะ ทำให้องค์กรมีการบริหารงานเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล 3) ด้านแนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค พบว่ากรมสอบสวนคดีพิเศษควรมีการวัดผลและ ดำเนินการให้นโยบายสามารถทำการศึกษาเข้าใจได้โดยง่ายเป็นรูปธรรม และการนำเสนอผลการดำเนินงานโดยใช้ นวัตกรรมเทคโนโลยีสมัยใหม่ และควรมีการพลักดันนโยบายธรรมาภิบาลให้เกิดการนำไปปฎิบัติอย่างต่อเนื่อง
dc.format.extentก-ฎ, 258 แผ่น
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2556
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/93535
dc.language.isotha
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดล. หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderมหาวิทยาลัยมหิดล
dc.subjectการนำนโยบายไปปฏิบัติ
dc.subjectธรรมรัฐ
dc.titleแนวทางการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารองค์กรกระบวนการยุติธรรม : ศึกษากรณีกรมสอบสวนคดีพิเศษ
dc.title.alternativeDirection of implementation of good governance for criminal justice organization administration : a case study of department of special investigation
dc.typeMaster Thesis
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2555/cd471/5337721.pdf
thesis.degree.departmentคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
thesis.degree.disciplineอาชญาวิทยาและงานยุติธรรม
thesis.degree.grantorมหาวิทยาลัยมหิดล
thesis.degree.levelปริญญาโท
thesis.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

Files