A study of effect of modified natural rubber on adhesion properties of epoxy resin
Issued Date
2024
Copyright Date
1995
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xvi, 154 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Polymer Science))--Mahidol University, 1995
Suggested Citation
Jutarat Phanmai A study of effect of modified natural rubber on adhesion properties of epoxy resin. Thesis (M.Sc. (Polymer Science))--Mahidol University, 1995. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/100807
Title
A study of effect of modified natural rubber on adhesion properties of epoxy resin
Alternative Title(s)
การศึกษาการอิทธิพลของยางธรรมชาติดัดแปลงต่อสมบัติในการเกาะติดของอีพอกซีเรซิน
Author(s)
Abstract
Effect of modified natural rubbers on adhesion properties of epoxy resin was studied. Two types of the rubbers, liquid natural rubber (LNR) and epoxidised liquid natural rubber (ELNR) were used. They were added to the epoxy resin and used as coating material for metal and adhesives for metal to metal and rubber to metal bonding. The effects of molecular weight, percentage epoxidation, rubber loadings and the addition of vulcanising agents were studied. Adhesion of the coating was tested by tape adhesion test and their physical properties were studied utilising dynamic mechanical thermal analysis (DMTA). The lap shear strength was tested to measure the adhesion properties of the adhesives. The results obtained indicated that adding modified natural rubber up to 25% to epoxy resin did not reduce the adhesion property of the epoxy coatings. It was found that LNR gave better results than ELNR. Epoxy resin, compounded with modified natural rubber, was found to give improved metal to metal bonding, with the optimum value obtained at 20% of the rubber loading. In this case, the use of LNR also gave better results than all ELNR of similar molecular weight. The use of rubber vulcanising agents in modified natural rubber did not improve the adhesion property of epoxy adhesive as applied to metal-to-metal and rubber-to-metal bondings.
งานวิจัยนี้ศึกษาถึงอิทธิพลของยางธรรมชาติดัดแปลงต่อ สมบัติในการเกาะติดของอีพอกซีเรซิน ยางธรรมชาติดัดแปลงที่ ใช้ในการศึกษานี้คือ ยางธรรมชาติเหลว (LNR) และยาง ธรรมชาติเหลวอีพอกซิไดส์ (ELNR) โดยเติมลงในอีพอกซีเรซิน แล้วนำมาใช้เป็นสารเคลือบผิวสำหรับโลหะและกาวสำหรับติด ระหว่างโลหะกับโลหะและโลหะกับยาง การทดลองนี้ศึกษาผลของน้ำหนักโมเลกุล ปริมาณหมู่ อีพอกไซด์ ปริมาณของยางธรรมชาติดัดแปลง และการเติมสาร วัลคาไนซ์ ที่มีต่อสมบัติของสารเคลือบผิวและกาวโดยในการ ศึกษาได้ทดสอบสมบัติในการยึดติดของสารเคลือบผิวโดยใช้วิธี Tape Test และศึกษาสมบัติทางกายภาพโดยใช้ Dynamic Mechanical Thermal Analysis (DMTA) ส่วนสมบัติใน การยึดติดของกาวศึกษาโดยทำ Lap Shear Strength Test จากผลการทดลอง แสดงให้เห็นว่ายางธรรมชาติดัดแปลง สามารถเติมลงในอีพอกซีเรซินได้ถึง 25% โดยไม่ทำให้สมบัติ ในการยึดติดของสารเคลือบผิวลดลง LNR ให้ผลในการยึดติด ดีกว่า ELNR และเมื่อนำยางธรรมชาติดัดแปลงนี้มาใช้เป็น กาวติดระหว่างโลหะกับโลหะ ทำให้ค่าแรงยึดติดของกาวสูงขึ้น โดยจะให้ค่าสูงสุดเมื่อเติมยางเหล่านี้ 20% ในช่วงน้ำหนัก โมเลกุลที่ใกล้เคียงกัน LNR จะให้ผลที่ดีกว่า ELNR การเติม สารวัลคาไนซ์ในยาง ในกาวติดระหว่างโลหะกับโลหะและโลหะ กับยาง พบว่า ไม่ช่วยเพิ่มสมบัติในการยึดติด
งานวิจัยนี้ศึกษาถึงอิทธิพลของยางธรรมชาติดัดแปลงต่อ สมบัติในการเกาะติดของอีพอกซีเรซิน ยางธรรมชาติดัดแปลงที่ ใช้ในการศึกษานี้คือ ยางธรรมชาติเหลว (LNR) และยาง ธรรมชาติเหลวอีพอกซิไดส์ (ELNR) โดยเติมลงในอีพอกซีเรซิน แล้วนำมาใช้เป็นสารเคลือบผิวสำหรับโลหะและกาวสำหรับติด ระหว่างโลหะกับโลหะและโลหะกับยาง การทดลองนี้ศึกษาผลของน้ำหนักโมเลกุล ปริมาณหมู่ อีพอกไซด์ ปริมาณของยางธรรมชาติดัดแปลง และการเติมสาร วัลคาไนซ์ ที่มีต่อสมบัติของสารเคลือบผิวและกาวโดยในการ ศึกษาได้ทดสอบสมบัติในการยึดติดของสารเคลือบผิวโดยใช้วิธี Tape Test และศึกษาสมบัติทางกายภาพโดยใช้ Dynamic Mechanical Thermal Analysis (DMTA) ส่วนสมบัติใน การยึดติดของกาวศึกษาโดยทำ Lap Shear Strength Test จากผลการทดลอง แสดงให้เห็นว่ายางธรรมชาติดัดแปลง สามารถเติมลงในอีพอกซีเรซินได้ถึง 25% โดยไม่ทำให้สมบัติ ในการยึดติดของสารเคลือบผิวลดลง LNR ให้ผลในการยึดติด ดีกว่า ELNR และเมื่อนำยางธรรมชาติดัดแปลงนี้มาใช้เป็น กาวติดระหว่างโลหะกับโลหะ ทำให้ค่าแรงยึดติดของกาวสูงขึ้น โดยจะให้ค่าสูงสุดเมื่อเติมยางเหล่านี้ 20% ในช่วงน้ำหนัก โมเลกุลที่ใกล้เคียงกัน LNR จะให้ผลที่ดีกว่า ELNR การเติม สารวัลคาไนซ์ในยาง ในกาวติดระหว่างโลหะกับโลหะและโลหะ กับยาง พบว่า ไม่ช่วยเพิ่มสมบัติในการยึดติด
Description
Polymer Science (Mahidol University 1995)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Science
Degree Discipline
Polymer Science
Degree Grantor(s)
Mahidol University