Structure of the testes of Rana catesbeiana and their changes during development and seasonal variation
Issued Date
2023
Copyright Date
1995
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
x, 90 leaves : ill. (some col.)
Access Rights
restricted access
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Anatomy))--Mahidol University, 1995
Suggested Citation
Aungkura Jerareungrattana Structure of the testes of Rana catesbeiana and their changes during development and seasonal variation. Thesis (M.Sc. (Anatomy))--Mahidol University, 1995. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/90487
Title
Structure of the testes of Rana catesbeiana and their changes during development and seasonal variation
Alternative Title(s)
การศึกษาโครงสร้างการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลของอัณฑะกบบลูฟรอก
Author(s)
Abstract
The testis of fully mature bullfrog, Rana catesbeiana were studied by light and transmission electron microscopes. The germ cells in the developing testis can be classified into twelve stages based on the nuclear characteristics. Primary and secondary spermatogonia are the earliest germ cells, with the former show large and completely euchromatic nuclei with prominent nucleoli and the latter with small block of heterochromatin distributed along the nuclear envelope. Spermatocytes consist of 5 stages namely, leptotene, zygotene, pachytene, diplotene and metaphase spermatocytes. Succeeding stages show increasing condensation of chromatin: from the coarse fibers, that are evenly distributed throughout the nucleus in leptotene stage to the highly condensed blocks of heterochromatin in pachytene to diplotene stages. Nucleoli are not detected in any stages. Secondary spermatocytes have blocks of completely condensed heterochromatin attaching to the nuclear envelopes. There are three stages of spermatids; the early stage shows large chromatin fiber that are evenly distributed over the nucleus, the middle stage has chromatin condensation along the nuclear envelope leaving paler central area The late stage exhibits completely condensed chromatin in an ovoid nucleus and its cytoplasm becomes highly vacuolized and starts to degenerate. In fully mature spermatozoa, the nucleus becomes completely elongated and chromatin completely condensed. They are embedded in the cytoplasm of Sertoli cells. At each stage of division and differentiation, a clone of derived from a single spermatogonia is surrounded by follicular cells which may have similar functions and belong to the same group of Sertoli cells. Leydig's cells are found between seminiferous tubules. During development of the testis, sex cords appear for 2 months old. When 4 months old definitive testis can be observed. Primary spermatogonia appears during four-month-old while spermatocytes and seminiferous tubules are present in the fifth month. Spermiogenesis and the full production of spermatozoa could be detected from the seventh month onwards. During breeding period (April-September), there are abundant spermatozoa, round spermatids in seminiferous tubules, while during non-breeding period(October-March), such cells are much fewer in number.
การศึกษาโครงสร้างและการเปลี่ยนแปลงต่อมอัณฑะ กบบูลฟรอกวัยเจริญพันธุ์ ด้วยกรรมวิธีทางจุลทรรศน์ธรรมดา และจุลทรรศน์อิเลคตรอนแบบส่องผ่าน เซลล์สืบพันธุ์ในต่อม อัณฑะสามารถแบ่งได้ 12 ระยะ โดยยึดหลักลักษณะของ นิวเคลียสเป็นสำคัญ เซลล์สืบพันธุ์เริ่มต้น คือ primary และ secondary spermatogonia นิวเคลียสมีขนาดใหญ่ลักษณะ เป็น euchromatin พบก้อน heterochromatin เล็ก ๆ กระจายตามเยื่อหุ้มนิวเคลียส และเห็น nucleolus เด่นชัด เซลล์สืบพันธุ์ระยะ primary spermatocyte แบ่งย่อยเป็น 5 ระยะได้แก่ leptotene, zygotene, pachytene, diplotene และ metaphase spermatocyte การขดตัวของ เส้นใยโครมาตินภายในก้อน heterochromatin จะหนาตัวขึ้น และกระจายทั่วนิวเคลียสในระยะ leptotene, ก้อนของ heterochromatin จะหนาตัวมากขึ้นในระยะ pachytene จนถึง diplotene และไม่สามารถพบ nucleolus ในบางระยะ ของ primary spermatocyte. Secondary spermatocyte มีการหดตัวของ heterochromatin มากขึ้นโดยเกาะอยู่บริเวณ เยื่อหุ้มนิวเคลียส ระยะของ spermatid แบ่งย่อยได้อีก 3 ระยะคือ early stage มีกลุ่มโครมาตินขนาดใหญ่กระจายตลอดนิวเคลียส, middle stage มีโครมาตินหนาแน่นมากขึ้นตามขอบเยื่อหุ้ม นิวเคลียสจนทำให้บริเวณกลางนิวเคลียสใสและระยะ late stage มีนิวเคลียสเป็นรูปไข่ มีการหนาแน่นของโครมาตินมากขึ้น ไซโตพลาสซึมของเซลล์ระยะนี้เริ่มมี vacuole และเริ่มที่จะ สลายตัว ในช่วงระยะ fully mature spermatozoa นิวเคลียสมีการขดของเส้นใยโครมาตินแน่นทึบและเริ่มเรียว ยาวขึ้น ตัวอสุจิจะซุกอยู่ในไซโตพลาสซึมของ Sertoli cell ในช่วงที่มีการพัฒนาที่เจาะจงของเซลล์สืบพันธุ์ ในท่ออสุจิ เซลล์สืบพันธุ์จะอยู่เป็นกลุ่ม (clone) โดยกลุ่มเซลล์ ดังกล่าวอาจมีต้นกำเนิดมาจาก spermatogonia เพียงเซลล์ เดียวและถูกโอบล้อมด้วย follicular cell ไว้ ทำให้คาดเดา ต่อไปว่า follicular cell อาจเป็นเซลล์ที่เปลี่ยนและ ปรับสภาพกลายเป็น Sertoli cell ในที่สุด ระหว่างท่ออสุจิ พบ Leydigs cell แทรกอยู่ ต่อมอัณฑะของกบบูลฟรอกเริ่ม สังเกตุ sex cords เมื่ออายุได้ 2 เดือนและเริ่มก่อตัว ขึ้นเป็นอวัยวะเมื่อกบอายุได้ 4 เดือน spermatogonia เริ่มปรากฏขึ้นในผนังของหลอดอสุจิเมื่อต้นเดือนที่ 4 ใน เดือนที่ 5 จะพบ spermatocyte และหลอดอสุจิ และเมื่อกบ อายุ 7 เดือน จะปรากฏเซลล์อสุจิจำนวนมากคั่งอยู่ในหลอด อสุจิเกือบทั่วทั้งต่อม ช่วงฤดูผสมพันธุ์ (เมษายน-กันยายน) จะมี spermatozoa และ middle stage ของ spermatid จำนวนมากในท่ออสุจิซึ่งต่างจากนอกฤดูผสมพันธุ์ (ตุลาคม- มีนาคม) จะพบเป็นจำนวนน้อย
การศึกษาโครงสร้างและการเปลี่ยนแปลงต่อมอัณฑะ กบบูลฟรอกวัยเจริญพันธุ์ ด้วยกรรมวิธีทางจุลทรรศน์ธรรมดา และจุลทรรศน์อิเลคตรอนแบบส่องผ่าน เซลล์สืบพันธุ์ในต่อม อัณฑะสามารถแบ่งได้ 12 ระยะ โดยยึดหลักลักษณะของ นิวเคลียสเป็นสำคัญ เซลล์สืบพันธุ์เริ่มต้น คือ primary และ secondary spermatogonia นิวเคลียสมีขนาดใหญ่ลักษณะ เป็น euchromatin พบก้อน heterochromatin เล็ก ๆ กระจายตามเยื่อหุ้มนิวเคลียส และเห็น nucleolus เด่นชัด เซลล์สืบพันธุ์ระยะ primary spermatocyte แบ่งย่อยเป็น 5 ระยะได้แก่ leptotene, zygotene, pachytene, diplotene และ metaphase spermatocyte การขดตัวของ เส้นใยโครมาตินภายในก้อน heterochromatin จะหนาตัวขึ้น และกระจายทั่วนิวเคลียสในระยะ leptotene, ก้อนของ heterochromatin จะหนาตัวมากขึ้นในระยะ pachytene จนถึง diplotene และไม่สามารถพบ nucleolus ในบางระยะ ของ primary spermatocyte. Secondary spermatocyte มีการหดตัวของ heterochromatin มากขึ้นโดยเกาะอยู่บริเวณ เยื่อหุ้มนิวเคลียส ระยะของ spermatid แบ่งย่อยได้อีก 3 ระยะคือ early stage มีกลุ่มโครมาตินขนาดใหญ่กระจายตลอดนิวเคลียส, middle stage มีโครมาตินหนาแน่นมากขึ้นตามขอบเยื่อหุ้ม นิวเคลียสจนทำให้บริเวณกลางนิวเคลียสใสและระยะ late stage มีนิวเคลียสเป็นรูปไข่ มีการหนาแน่นของโครมาตินมากขึ้น ไซโตพลาสซึมของเซลล์ระยะนี้เริ่มมี vacuole และเริ่มที่จะ สลายตัว ในช่วงระยะ fully mature spermatozoa นิวเคลียสมีการขดของเส้นใยโครมาตินแน่นทึบและเริ่มเรียว ยาวขึ้น ตัวอสุจิจะซุกอยู่ในไซโตพลาสซึมของ Sertoli cell ในช่วงที่มีการพัฒนาที่เจาะจงของเซลล์สืบพันธุ์ ในท่ออสุจิ เซลล์สืบพันธุ์จะอยู่เป็นกลุ่ม (clone) โดยกลุ่มเซลล์ ดังกล่าวอาจมีต้นกำเนิดมาจาก spermatogonia เพียงเซลล์ เดียวและถูกโอบล้อมด้วย follicular cell ไว้ ทำให้คาดเดา ต่อไปว่า follicular cell อาจเป็นเซลล์ที่เปลี่ยนและ ปรับสภาพกลายเป็น Sertoli cell ในที่สุด ระหว่างท่ออสุจิ พบ Leydigs cell แทรกอยู่ ต่อมอัณฑะของกบบูลฟรอกเริ่ม สังเกตุ sex cords เมื่ออายุได้ 2 เดือนและเริ่มก่อตัว ขึ้นเป็นอวัยวะเมื่อกบอายุได้ 4 เดือน spermatogonia เริ่มปรากฏขึ้นในผนังของหลอดอสุจิเมื่อต้นเดือนที่ 4 ใน เดือนที่ 5 จะพบ spermatocyte และหลอดอสุจิ และเมื่อกบ อายุ 7 เดือน จะปรากฏเซลล์อสุจิจำนวนมากคั่งอยู่ในหลอด อสุจิเกือบทั่วทั้งต่อม ช่วงฤดูผสมพันธุ์ (เมษายน-กันยายน) จะมี spermatozoa และ middle stage ของ spermatid จำนวนมากในท่ออสุจิซึ่งต่างจากนอกฤดูผสมพันธุ์ (ตุลาคม- มีนาคม) จะพบเป็นจำนวนน้อย
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Science
Degree Discipline
Anatomy
Degree Grantor(s)
Mahidol University