The influence of personal factors and temperament on adversity quoient in college student of dramatic art in central area
dc.contributor.advisor | Hattaya Dumrongphol | |
dc.contributor.advisor | Wimontip Musikaphan | |
dc.contributor.advisor | Supalak Khemthong | |
dc.contributor.author | Niccha Ingsutham | |
dc.date.accessioned | 2024-02-07T02:14:46Z | |
dc.date.available | 2024-02-07T02:14:46Z | |
dc.date.copyright | 2014 | |
dc.date.created | 2014 | |
dc.date.issued | 2014 | |
dc.description | Human Development (Mahidol University 2014) | |
dc.description.abstract | The purpose of this research was to study the temperament and adversity quotient of grade 7-9 students and to verity the influence of temperament on the adversity quotient of these student. The participants were 510 students (12-15 years old) from four elementary school in a college of dramatic arts in the central area who were selected b purposive sampling. Data was collected from a questionnaire based survey of personal factors, temperament and adversity quotient. Stepwise multiple regression was utilized to evaluate the influence of temperament on adversity quotient. The result showed 80.2% participants were found to have a high level of temperament and 48.8% have a high level of adversity quotient. Multiple regression showed that (1) effortful control and affiliativeness significantly statistically influence control of adversity quotient and these can predict 19.4% of the control of adversity quotient (p<.001) (2) effortful control and affiliativeness significantly statistically influenced origin and ownership of adversity quotient and these can predict 15.6% of origin and ownership of adversity quotient (p<.001) (3) affiliativeness and effort control significantly statistically influenced the research of adversity quotient and these can predict 11.9% of the reach of adversity quotient (p<.001) (4) affiliativeness, effort control and negative affectivity significantly statistically influenced and endurance of adversity quotient and these can predict 14.3% of the endurance of adversity quotient (p.001) In summary, temperament in an important factor that creates good a adversity quotient, especially effort control. The suggestion from this study is that families, schools and other agencies should promote temperament in children because this will help their adversity quotient for being a good adult living happily in society. | |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะพื้นฐานทางอารมณ์ และความสามารถในการเผชิญปัญหาและฝ่าฟันอุปสรรค ของนักเรียนชั้นต้น วิทยาลัยนาฏศิลป เขตภาคกลาง และศึกษาอิทธิพลของลักษณะพื้นฐานทางอารมณ์ที่มีต่อความสามารถในการเผชิญปัญหาและฝ่าฟันอุปสรรค ของนักเรียนชั้นต้น วิทยาลัยนาฏศิลป เขตภาคกลาง ซึ่งการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาเป็น คัดเลือกด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ จำนวน 510 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล หลังจากนั้นนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ผลทางสถิติ โดยใช้การวิเคราะห์แบบถดถอยพหุคูณ พบว่านักเรียนส่วนใหญ่มีลักษณะพื้นฐานทางอารมณ์อยู่ในระดับสูง คิดเป็นร้อยละ 80.2 และ มีความสามารถในการเผชิญปัญหาและฝ่าฟันอุปสรรคอยู่ในระดับสูงเช่นกัน คิดเป็นร้อยละ 48.8 ผลการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ พบว่า (1) ความสามารถในการควบคุมตนเองและความมีสัมพันธภาพ สามารถร่วมกันพยากรณ์ความสามารถในการเผชิญปัญหาและฝ่าฟันอุปสรรค ในด้านการควบคุมสถานการณ์ที่เป็นอุปสรรค ได้ร้อยละ 19.4 (p<.001) (2) ความสามารถในการควบคุมตนเองและความมีสัมพันธภาพ สามารถร่วมกันพยากรณ์ความสามารถในการเผชิญปัญหาและฝ่าฟันอุปสรรค ด้านรับรู้สาเหตุและความรับผิดชอบต่ออุปสรรค ได้ร้อยละ 15.6 (p<.001) (3) ความมีสัมพันธภาพและความสามารถในการควบคุมตนเอง สามารถร่วมกันพยากรณ์ความสามารถในการเผชิญปัญหาและฝ่าฟันอุปสรรค ด้านการรับรู้ถึงระดับอุปสรรค ได้ร้อยละ 11.9 (p<.001) (4) ความมีสัมพันธภาพ ความสามารถในการควบคุมตนเอง และอารมณ์เชิงลบ สามารถร่วมกันพยากรณ์ความสามารถในการเผชิญปัญหาและฝ่าฟันอุปสรรค ด้านความอดทนต่ออุปสรรค ได้ร้อยละ 14.3 (p<.001)โดยสรุป ลักษณะพื้นฐานทางอารมณ์ส่งผลต่อความสามารถในการเผชิญปัญหาและฝ่าฟันอุปสรรคของนักเรียนชั้นต้น วิทยาลัยนาฏศิลป เขตภาคกลาง โดยเฉพาะในด้านความสามารถในการควบคุมตนเอง จากการวิจัยทำให้ควรส่งเสริมให้เด็กมีลักษณะพื้นฐานทางอารมณ์ในด้านต่างๆให้เหมาะสม ตั้งแต่ในวัยเด็ก ซึ่งจะนำไปสู่การมีบุคลิกภาพอย่างเหมาะสมเมื่อเติบโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่และเพื่อเป็นการส่งผลให้เด็กนั้นมีความสามารถในการเผชิญปัญหาและฝ่าฟันอุปสรรคให้ดียิ่งขึ้นตามลักษณะพื้นฐานทางอารมณ์ที่แตกต่างกันด้วย | |
dc.format.extent | x, 83 leaves | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | Thesis (M.Sc. (Human Development))--Mahidol University, 2014 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/95246 | |
dc.language.iso | eng | |
dc.publisher | Mahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | Mahidol University | |
dc.subject | Emotions in children | |
dc.subject | Temperament | |
dc.title | The influence of personal factors and temperament on adversity quoient in college student of dramatic art in central area | |
dc.title.alternative | อิทธิพลของปัจจัยส่วนบุคคลและลักษณะพื้นฐานทางอารมณ์ที่มีต่อความสามารถในการเผชิญปัญหาและฝ่าฟันอุปสรรคของนักศึกษาในกลุ่มวิทยาลัยนาฏศิลป เขตภาคกลาง | |
dc.type | Master Thesis | |
dcterms.accessRights | open access | |
mods.location.url | http://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2557/cd497/5236718.pdf | |
thesis.degree.department | National Institute for Child and Family Development | |
thesis.degree.discipline | Human Development | |
thesis.degree.grantor | Mahidol University | |
thesis.degree.level | Master's degree | |
thesis.degree.name | Master of Science |