Study of hybrid wireless power transfer in Thailand
Issued Date
2024
Copyright Date
2020
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
x, 43 leaves: ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Information Technology Management))--Mahidol University, 2020
Suggested Citation
Jarurote Tippayachai Study of hybrid wireless power transfer in Thailand. Thesis (M.Sc. (Information Technology Management))--Mahidol University, 2020. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/99485
Title
Study of hybrid wireless power transfer in Thailand
Alternative Title(s)
ศึกษาการส่งพลังงานไร้สายผ่านรูปแบบผสมระหว่างสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กในประเทศไทย
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
Hybrid wireless power transfer (HPT) employs both magnetic and electric fields to transmit the power across air-gap distance at the resonant frequency, enhancing the potential and capacity for charging battery in electric vehicles (EVs). While the HPT technology is still under research study, the safety concerns for HPT have not yet been reported during the experiment. This study aims to re-investigate the safety issues of HPT in experiment by creating and testing the HPT prototype. A parallel-coupling HPT proposed by Luo in 2018 is used in our study, consisting of a pair of coupling coils, two pairs of aluminum plates, and a pair of compensation capacitors. This HPT prototype is tested in the frequency range of 600 to 700 kHz. To reveal the effects of thermal and EMF leakages, a thermal scan and EMF detector are used in the experiment. The results demonstrated that the prototype of HPT operates at high frequency, high power, and high efficiency. Moreover, the safety concerns in experiment are summarized.
เทคโนโลยีการส่งพลังงานไร้สายแบบรูปผสมระหว่างสนามไฟฟ้าและแม่เหล็ก (HPT) เป็นการใช้ประโยชน์การส่งพลังงานทั้งแบบเหนี่ยวนาทางสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าเพื่อเพื่มศักยภาพและขีดความสามารถการประจุพลังงานให้กับยานยนต์ไฟฟ้า อย่างไรก็ตามเทคโนโลยี HPT ยังอยู่ในขั้นตอนวิจัย และยังไม่มีรายงานความปลอดภัยในระหว่างปฏิบัติการทดลองใด ๆ บทความนี้จึงมีจุดประสงค์ที่จะศึกษาในประเด็นเรื่องความปลอดภัยในระหว่างปฏิบัติการทดลองในเครื่องต้นแบบ HPT ด้วยการสร้างเครื่องต้นแบบและทดสอบด้วยตนเอง เครื่องต้นแบบ HPT ชนิดสายอากาศประจุต่อเชิงขนานได้ต้นแบบจากบทความศึกษาของ Luo ปี 2018 ซึ่งประกอบด้วย ชุดขดลวดเหนี่ยวนา 1 คู่ ชุดแผ่นอลูมิเนี่ยม 2 คู่ และชุดตัวเก็บประจุชดเชย 1 คู่ แล้วนาไปทดสอบในย่านความถี่ระหว่าง 600 ถึง 700 เมกะเฮิรตซ์ ในการทดลอง ได้มีการใช้เครื่องส่องตรวจจับความร้อน และอุปกรณ์ตรวจสอบการรั่วไหลของสนามแม่เหล็กไฟฟ้า (EMF) เพื่อศึกษาการรั่วไหลความร้อนและสนามแม่เหล็กไฟฟ้าบริเวณรอบ ๆ เครื่องต้นแบบ HPT บทความนี้ได้แสดงให้ว่า เครื่องต้นแบบ HPT สามารถทางานที่ความถี่สูง กำลังงานสูง และประสิทธิภาพสูง ในขณะเดียวกัน ประเด็นความปลอดภัยในระหว่างปฏิบัติติการทดลองกับเครื่องต้นแบบ HPT ได้ทำการสรุปออกมาอย่างชัดเจน
เทคโนโลยีการส่งพลังงานไร้สายแบบรูปผสมระหว่างสนามไฟฟ้าและแม่เหล็ก (HPT) เป็นการใช้ประโยชน์การส่งพลังงานทั้งแบบเหนี่ยวนาทางสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าเพื่อเพื่มศักยภาพและขีดความสามารถการประจุพลังงานให้กับยานยนต์ไฟฟ้า อย่างไรก็ตามเทคโนโลยี HPT ยังอยู่ในขั้นตอนวิจัย และยังไม่มีรายงานความปลอดภัยในระหว่างปฏิบัติการทดลองใด ๆ บทความนี้จึงมีจุดประสงค์ที่จะศึกษาในประเด็นเรื่องความปลอดภัยในระหว่างปฏิบัติการทดลองในเครื่องต้นแบบ HPT ด้วยการสร้างเครื่องต้นแบบและทดสอบด้วยตนเอง เครื่องต้นแบบ HPT ชนิดสายอากาศประจุต่อเชิงขนานได้ต้นแบบจากบทความศึกษาของ Luo ปี 2018 ซึ่งประกอบด้วย ชุดขดลวดเหนี่ยวนา 1 คู่ ชุดแผ่นอลูมิเนี่ยม 2 คู่ และชุดตัวเก็บประจุชดเชย 1 คู่ แล้วนาไปทดสอบในย่านความถี่ระหว่าง 600 ถึง 700 เมกะเฮิรตซ์ ในการทดลอง ได้มีการใช้เครื่องส่องตรวจจับความร้อน และอุปกรณ์ตรวจสอบการรั่วไหลของสนามแม่เหล็กไฟฟ้า (EMF) เพื่อศึกษาการรั่วไหลความร้อนและสนามแม่เหล็กไฟฟ้าบริเวณรอบ ๆ เครื่องต้นแบบ HPT บทความนี้ได้แสดงให้ว่า เครื่องต้นแบบ HPT สามารถทางานที่ความถี่สูง กำลังงานสูง และประสิทธิภาพสูง ในขณะเดียวกัน ประเด็นความปลอดภัยในระหว่างปฏิบัติติการทดลองกับเครื่องต้นแบบ HPT ได้ทำการสรุปออกมาอย่างชัดเจน
Description
Information Technology Management (Mahidol University 2020)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Engineering
Degree Discipline
Information Technology Management
Degree Grantor(s)
Mahidol University