The administration and development of educational quality assurance system for performance excellence in Mahidol University
Issued Date
2024
Copyright Date
2017
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
x, 209 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (D.P.A. (Public Policy and Public Management))--Mahidol University, 2017
Suggested Citation
Roongdao Jarupoom The administration and development of educational quality assurance system for performance excellence in Mahidol University. Thesis (D.P.A. (Public Policy and Public Management))--Mahidol University, 2017. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91662
Title
The administration and development of educational quality assurance system for performance excellence in Mahidol University
Alternative Title(s)
การบริหารและพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศของมหาวิทยาลัยมหิดล
Author(s)
Abstract
The objectives of this study were : 1) to study the situations and problems of the administration and development of educational quality assurance system for performance excellence in HEIS. 2) to study the efficiency and effectiveness of the administration and development of educational quality assurance system for performance excellence in Mahidol University, and 3) to find guidelines for the administration and development of educational quality assurance system for performance excellence in Mahidol University by using mixed method research. The first step was the in-depth interview of 5 executives who were in charge of internal and external educational quality assurance from AUNQA, TQA Assessors ,ONESA and Mahidol University as per the objective of the study 1. The second step was to collect quantitative data through integrated quality assurance situation survey from 131 employees consisted of Mahidol executives, Lecturers and QA staff. The analysis of quantitative data were mean, standard deviation and Priority Needs Index as per the purpose of the study 2. The third step was a focus group discussion with 12 representatives of executives from Mahidol departments and faculties as per the purpose of the study 3. The two qualitative data were analyzed by content analysis. Research findings revealed that there were 7 comprehensive situations with problems of the administration and development of educational quality assurance system for performance excellence in HEIS. In addition, the average efficiency of the administration and development of educational quality assurance system for performance excellence in Mahidol University for 7comprehensive situations in the present situations was "very efficient" ( X 3.77 ,S.D.=1.35), and in the desirable situations also was "very efficient" ( X 4.33,S.D.=1.20), and its Priority Needs Index was 0.14.The average effectiveness of the administration and development of educational quality assurance system for performance excellence in Mahidol university was "moderate effective" in the current situations( X 3.06 ,S.D.=1.09) and in the desirable situations was "very effective" ( X 4.42,S.D.=0.84), and Priority Needs Index was 0.44. Findings showed that there were priorities needs in 7 comprehensive situations and the top 3 priorities were as follows;1.Knowledge Management and information technology (PNI Modified = 0.64) 2.Listening to customers to improve results ( PNI Modified = 0.49). Finally, there were 2 comprehensive situations for the third priority: 3.1 Strategic Management and Implementation and 3.2 Human Resources Management (PNI Modified =0.45). In conclusion, the guidelines of administration and development of educational quality assurance system for performance excellence in Mahidol University for the top 3 Priorities Need Index were provided. They were 1) Survey the need for information technology development and identify the best practices for exchanging learning and implementation across the organization including managing "Automation working place" with a central database. 2) Need analysis of all stakeholders that linked to market demand and policy networks, including government policies. 3) The guideline with equal score is as follows:3.1) "Working as a mobile" by a quality assurance unit has a schedule to stay with the faculty and department at least 2 weeks to understand each other clearly in order to continue working in the same direction. 3.2) Management team of each faculty and department should communicate all personnel clearly what need to be done in the same direction, and be flexible in defining duties and assignments focusing on accountability and transparency.
วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือ : 1) เพื่อศึกษาสภาวการณ์และปัญหาของการบริหารและพัฒนาระบบประกันคุณภาพ การศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศของสถาบันอุดมศึกษา 2) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการบริหารระบบประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศของมหาวิทยาลัยมหิดล 3) เพื่อหาแนวทางการบริหารและพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศของมหาวิทยาลัยมหิดล โดยใช้วิธีวิจัยแบบผสานวิธี ขั้นตอนวิจัยที่ 1 เป็นวิธีวิจัยเชิงคุณภาพการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้บริหารระดับสูงที่มีประสบการณ์ด้านประกันคุณภาพการศึกษาจำนวน 5 คนเพื่อตอบวัตถุประสงค์วิจัยที่ 1 ขั้นตอนวิจัยที่ 2 วิธีวิจัยเชิงปริมาณโดยการสำรวจความคิดเห็นด้วยแบบสอบถามกลุ่มตัวอย่างผู้บริหาร อาจารย์และบุคลากรด้านประกันคุณภาพการศึกษาจำนวน 131 คน จากนั้น ทำการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าดัชนีการลำดับความสำคัญของความจำเป็นต้องการแบบปรับปรุงเพื่อตอบวัตถุประสงค์งานวิจัยข้อที่ 2 และขั้นตอนวิจัยที่ 3 คือวิธีวิจัยเชิงคุณภาพโดยการสนทนากลุ่มผู้บริหารส่วนงานของมหาวิทยาลัยมหิดลจำนวน 12 คน เพื่อตอบวัตถุประสงค์งานวิจัยข้อที่ 3 โดยการวิจัยเชิงคุณภาพทั้ง 2 วิธี ใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลจากการวิจัยพบว่า การบริหารและพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศของสถาบันอุดมศึกษามี 7 สภาวการณ์พร้อมด้วยปัญหาต่างๆ และประสิทธิภาพของการบริหารและพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศของมหาวิทยาลัยมหิดล ใน 7 สภาวการณ์ปัจจุบันมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับที่มี "ประสิทธิภาพมาก" ( X 3.77 ,S.D.=1.35) ในส่วนสภาวการณ์ที่พึงประสงค์มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับที่มี "ประสิทธิภาพมาก" ( X 4.33,S.D.=1.20) และมีค่าดัชนีลาดับความสำคัญความจำเป็นต้องการปรับปรุง (PNI Modified = 0.14) ในส่วนประสิทธิผลของการบริหารและพัฒนาระบบประกันคุณภาพ การศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศของมหาวิทยาลัยมหิดลใน 7 สภาวการณ์ปัจจุบันมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับที่มี "ประสิทธิผลปานกลาง" (X 3.06 ,S.D.=1.09) ในส่วนสภาวการณ์ที่พึงประสงค์มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับที่มี "ประสิทธิผลมาก" ( X 4.42,S.D.=0.84) และมีค่าดัชนีลำดับความสำคัญความจำเป็นต้องการแบบปรับปรุง (PNI Modified=0.44) จากผลค่าดัชนีชี้วัดความจำเป็นต้องการปรับปรุงด้านประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของการบริหารและพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศของมหาวิทยามหิดลใน 7 สภาวการณ์พบว่ามีความจำเป็นต้องมีการปรับปรุงตามลำดับความสำคัญ ด้านประสิทธิผล 3 อันดับสูงสุด คือ1.การจัดการความรู้และสารสนเทศ (ค่าPNI Modified = 0.64) 2.การรับฟังลูกค้าเพื่อปรับปรุงผลลัพธ์ (ค่า PNI Modified = 0.49) และ 3. ความจำเป็นต้องการปรับปรุงที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดอันดับ 3 มี 2 สภาวการณ์ที่ได้คะแนนเฉลี่ยเท่ากัน คือ 3.1) การบริหารเชิงกลยุทธ์และการนากลยุทธ์ไปปฏิบัติ ได้ค่าดัชนีเท่ากับ PNI Modified = 0.45 และ 3.2) การบริหารทรัพยากรบุคคล ซึ่งสามารถสรุปแนวทางการบริหารและพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อ การดำเนินการที่เป็นเลิศของมหาวิทยาลัยมหิดลตอบสนองต่อค่าดัชนีลำดับความสำคัญความต้องการจำเป็นในการปรับปรุง (PNI Modified) 3 อันดับสูงสุด คือ 1) การสำรวจความต้องการการพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและจำแนกแนวปฏิบัติที่ดีเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้รวมถึงการจัดทำ "สำนักงานอัตโนมัติ" ด้วยระบบจัดเก็บข้อมูลส่วนกลาง 2)การวิเคราะห์ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มโดยการเชื่อมโยงกับความต้องการของตลาดและเครือข่ายนโยบายต่างๆ ซึ่งรวมถึงนโยบายภาครัฐ 3) แนวทางการปรับปรุงที่มีค่าคะแนนเท่ากัน คือ 3.1) การทำงานในลักษณะเป็น Mobile โดยหน่วยประกันคุณภาพส่วนกลางมีตารางเวลาในการอยู่กับคณะอย่างน้อย 2 สัปดาห์ เพื่อทำความเข้าใจซึ่งกันและกันให้ชัดเจนเพื่อดำเนินการต่อไปและ 3.2) ผู้บริหารของส่วนงานควรทำให้บุคลากรทุกคนมีความเข้าใจ และความยืดหยุ่นในการกาหนดหน้าที่และการมอบหมายงานที่มีความสอดคล้องในทิศทางเดียวกันกับมหาวิทยาลัย
วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือ : 1) เพื่อศึกษาสภาวการณ์และปัญหาของการบริหารและพัฒนาระบบประกันคุณภาพ การศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศของสถาบันอุดมศึกษา 2) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการบริหารระบบประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศของมหาวิทยาลัยมหิดล 3) เพื่อหาแนวทางการบริหารและพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศของมหาวิทยาลัยมหิดล โดยใช้วิธีวิจัยแบบผสานวิธี ขั้นตอนวิจัยที่ 1 เป็นวิธีวิจัยเชิงคุณภาพการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้บริหารระดับสูงที่มีประสบการณ์ด้านประกันคุณภาพการศึกษาจำนวน 5 คนเพื่อตอบวัตถุประสงค์วิจัยที่ 1 ขั้นตอนวิจัยที่ 2 วิธีวิจัยเชิงปริมาณโดยการสำรวจความคิดเห็นด้วยแบบสอบถามกลุ่มตัวอย่างผู้บริหาร อาจารย์และบุคลากรด้านประกันคุณภาพการศึกษาจำนวน 131 คน จากนั้น ทำการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าดัชนีการลำดับความสำคัญของความจำเป็นต้องการแบบปรับปรุงเพื่อตอบวัตถุประสงค์งานวิจัยข้อที่ 2 และขั้นตอนวิจัยที่ 3 คือวิธีวิจัยเชิงคุณภาพโดยการสนทนากลุ่มผู้บริหารส่วนงานของมหาวิทยาลัยมหิดลจำนวน 12 คน เพื่อตอบวัตถุประสงค์งานวิจัยข้อที่ 3 โดยการวิจัยเชิงคุณภาพทั้ง 2 วิธี ใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลจากการวิจัยพบว่า การบริหารและพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศของสถาบันอุดมศึกษามี 7 สภาวการณ์พร้อมด้วยปัญหาต่างๆ และประสิทธิภาพของการบริหารและพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศของมหาวิทยาลัยมหิดล ใน 7 สภาวการณ์ปัจจุบันมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับที่มี "ประสิทธิภาพมาก" ( X 3.77 ,S.D.=1.35) ในส่วนสภาวการณ์ที่พึงประสงค์มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับที่มี "ประสิทธิภาพมาก" ( X 4.33,S.D.=1.20) และมีค่าดัชนีลาดับความสำคัญความจำเป็นต้องการปรับปรุง (PNI Modified = 0.14) ในส่วนประสิทธิผลของการบริหารและพัฒนาระบบประกันคุณภาพ การศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศของมหาวิทยาลัยมหิดลใน 7 สภาวการณ์ปัจจุบันมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับที่มี "ประสิทธิผลปานกลาง" (X 3.06 ,S.D.=1.09) ในส่วนสภาวการณ์ที่พึงประสงค์มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับที่มี "ประสิทธิผลมาก" ( X 4.42,S.D.=0.84) และมีค่าดัชนีลำดับความสำคัญความจำเป็นต้องการแบบปรับปรุง (PNI Modified=0.44) จากผลค่าดัชนีชี้วัดความจำเป็นต้องการปรับปรุงด้านประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของการบริหารและพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศของมหาวิทยามหิดลใน 7 สภาวการณ์พบว่ามีความจำเป็นต้องมีการปรับปรุงตามลำดับความสำคัญ ด้านประสิทธิผล 3 อันดับสูงสุด คือ1.การจัดการความรู้และสารสนเทศ (ค่าPNI Modified = 0.64) 2.การรับฟังลูกค้าเพื่อปรับปรุงผลลัพธ์ (ค่า PNI Modified = 0.49) และ 3. ความจำเป็นต้องการปรับปรุงที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดอันดับ 3 มี 2 สภาวการณ์ที่ได้คะแนนเฉลี่ยเท่ากัน คือ 3.1) การบริหารเชิงกลยุทธ์และการนากลยุทธ์ไปปฏิบัติ ได้ค่าดัชนีเท่ากับ PNI Modified = 0.45 และ 3.2) การบริหารทรัพยากรบุคคล ซึ่งสามารถสรุปแนวทางการบริหารและพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อ การดำเนินการที่เป็นเลิศของมหาวิทยาลัยมหิดลตอบสนองต่อค่าดัชนีลำดับความสำคัญความต้องการจำเป็นในการปรับปรุง (PNI Modified) 3 อันดับสูงสุด คือ 1) การสำรวจความต้องการการพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและจำแนกแนวปฏิบัติที่ดีเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้รวมถึงการจัดทำ "สำนักงานอัตโนมัติ" ด้วยระบบจัดเก็บข้อมูลส่วนกลาง 2)การวิเคราะห์ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มโดยการเชื่อมโยงกับความต้องการของตลาดและเครือข่ายนโยบายต่างๆ ซึ่งรวมถึงนโยบายภาครัฐ 3) แนวทางการปรับปรุงที่มีค่าคะแนนเท่ากัน คือ 3.1) การทำงานในลักษณะเป็น Mobile โดยหน่วยประกันคุณภาพส่วนกลางมีตารางเวลาในการอยู่กับคณะอย่างน้อย 2 สัปดาห์ เพื่อทำความเข้าใจซึ่งกันและกันให้ชัดเจนเพื่อดำเนินการต่อไปและ 3.2) ผู้บริหารของส่วนงานควรทำให้บุคลากรทุกคนมีความเข้าใจ และความยืดหยุ่นในการกาหนดหน้าที่และการมอบหมายงานที่มีความสอดคล้องในทิศทางเดียวกันกับมหาวิทยาลัย
Description
Public Policy and Public Management (Mahidol University 2017)
Degree Name
Doctor Public Administration
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Mahidol University. Faculty of Social Sciences and Humanities
Degree Discipline
Public Policy and Public Management
Degree Grantor(s)
Mahidol University