Feasibility of tablet identification by direct injection electrospray Ionization high resolution time of flight mass spectroscopy
Issued Date
2014
Copyright Date
2014
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xiii, 56 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Forensic Science))--Mahidol University, 2014
Suggested Citation
Kieran Misser Feasibility of tablet identification by direct injection electrospray Ionization high resolution time of flight mass spectroscopy. Thesis (M.Sc. (Forensic Science))--Mahidol University, 2014. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/95305
Title
Feasibility of tablet identification by direct injection electrospray Ionization high resolution time of flight mass spectroscopy
Alternative Title(s)
ความเป็นไปได้ของการวิเคราะห์เม็ดยาด้วยเทคนิคอิเล็คโตรสเปรย์ไอออไนเซชั่นไฮเรโซลูชั่นไทม์ออฟไฟลทแมสสเปกโตรเมทรีโดยการฉีดสารละลายตัวอย่างโดยตรง
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
The objective of this work was to study the feasibility of identifying unknown tablet samples by directly introducing the sample as solution into the electrospray ionization port of a high resolution time-of-flight mass spectrometer (HRTOF-MS) without prior separation by liquid chromatography. Thirty-four known drugs were analyzed by this method, among which 65% were identified, 26% were identified with some condition and 9% could not be identified from their mass spectrum. A procedure for identification of an unknown tablet was proposed from this study as a sample screening method for unknown tablet identification.
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ ในการศึกษาความเป็นไปได้ของการตรวจวิเคราะห์เม็ดยา ด้วยเทคนิคอีเล็คโตรสเปรย์ไอออไนเซชั่นไฮเรโซลูชั่นไทม์ออฟไฟลทแมสสเปกโตรเมทรี โดยการ ฉีดสารละลายตัวอย่างโดยตรงเข้าไปยังส่วนของไอออไนเซชั่นพอร์ต โดยไม่ผ่านกระบวนการแยก สารบริสุทธิ์ด้วยเทคนิคโครมาโทกราฟี จากการศึกษาตัวอย่างจำนวน 34 ตัวอย่าง มี 65% สามารถตรวจวิเคราะห์ได้ง่าย 26% สามารถตรวจวิเคราะห์ได้อย่างมีเงื่อนไข และ 9% ไม่สามารถตรวจวิเคราะห์ได้ นอกจากนี้ ยังได้มีการเสนอกระบวนการตรวจวิเคราะห์เม็ดยาตัวอย่างด้วยเทคนิคนี้ซึ่งเป็นเทคนิคที่ง่ายสำหรับการตรวจคัดกรองตัวอย่างสำหรับการตรวจวิเคราะห์เม็ดยา
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ ในการศึกษาความเป็นไปได้ของการตรวจวิเคราะห์เม็ดยา ด้วยเทคนิคอีเล็คโตรสเปรย์ไอออไนเซชั่นไฮเรโซลูชั่นไทม์ออฟไฟลทแมสสเปกโตรเมทรี โดยการ ฉีดสารละลายตัวอย่างโดยตรงเข้าไปยังส่วนของไอออไนเซชั่นพอร์ต โดยไม่ผ่านกระบวนการแยก สารบริสุทธิ์ด้วยเทคนิคโครมาโทกราฟี จากการศึกษาตัวอย่างจำนวน 34 ตัวอย่าง มี 65% สามารถตรวจวิเคราะห์ได้ง่าย 26% สามารถตรวจวิเคราะห์ได้อย่างมีเงื่อนไข และ 9% ไม่สามารถตรวจวิเคราะห์ได้ นอกจากนี้ ยังได้มีการเสนอกระบวนการตรวจวิเคราะห์เม็ดยาตัวอย่างด้วยเทคนิคนี้ซึ่งเป็นเทคนิคที่ง่ายสำหรับการตรวจคัดกรองตัวอย่างสำหรับการตรวจวิเคราะห์เม็ดยา
Description
Forensic Science (Mahidol University 2014)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Science
Degree Discipline
Forensic Science
Degree Grantor(s)
Mahidol University