A comparison of corrective feedback used in the international and the EFL contexts
dc.contributor.advisor | Songsri Soranastaporn | |
dc.contributor.advisor | Natthapong Chanyoo | |
dc.contributor.author | Julia Simhony | |
dc.date.accessioned | 2024-01-11T03:12:34Z | |
dc.date.available | 2024-01-11T03:12:34Z | |
dc.date.copyright | 2017 | |
dc.date.created | 2024 | |
dc.date.issued | 2017 | |
dc.description | Applied Linguistics (Mahidol University 2017) | |
dc.description.abstract | Three objectives were set in the current study: 1) to investigate the types of corrective feedback, 2) to identify the frequency, and 3) to compare similarities and differences about the use of corrective feedback in two contexts (EFL and international classrooms). Participants were two groups of students and their teachers from each classroom. Data were collected through non-participant classroom observations and interview sessions with the teachers. The findings revealed similarities and differences among the two contexts. One of the similarities was that six types of corrective feedback were used in both classrooms (e.g., explicit correction, recast, metalinguistic clues, elicitation, repetition, and clarification request). The most frequently used corrective feedback type in the EFL classroom was recast, whereas in international classroom was metalinguistic clues. The least frequently used corrective feedback types in the EFL context were metalinguistic clues and elicitation. Repetition was the least frequently corrective feedback type used in international classroom. Interview sessions with the teachers from both classrooms revealed different focus of language aspects, which may have influenced on different types of corrective feedback provided in the classrooms. From the observation and the interview, it was seen that teachers provided corrective feedback without awareness of the precise definition and the target form of the language requiring for specific corrective feedback. The need of teacher training to provide effective corrective feedback in language classrooms is recommended. | |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้คือ 1) เพื่อสืบค้นประเภทของข้อมูลป้อนกลับ 2) เพื่อบ่งชี้ความถี่และ 3) เพื่อเปรียบเทียบความเหมือนและความต่างเกี่ยวกับการใช้ข้อมูลป้อนกลับในบริบทที่ต่างกัน (ห้องเรียนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศและห้องเรียนนานาชาติ) ผู้เข้าร่วมวิจัยในครั้งนี้ได้แก่นักเรียนจากห้องเรียนทั้งสองห้องและครูประจำรายวิชาของแต่ล่ะห้องการเก็บรวบรวมข้อมูลทำโดยการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วมและการสัมภาษณ์ครูผู้สอน ผลจากการศึกษาพบความเหมือนและความแตกต่างของห้องเรียนทั้งสองบริบทความเหมือนกันอย่างหนึ่งคือรูปแบบของข้อมูลป้อนกลับทั้ง 6 ประเภทถูกใช้ในทั้งสองบริบท ได้แก่ การแก้ไขอย่างชัดเจน (explicit correction) การเปลี่ยนรูปใหม่ (recast) การบอกใบ้ด้วยข้อมูลทางภาษา (metalinguistic clues) การสอบถามข้อมูล (elicitation) การถามซ้ำ (repetition) และการขอให้อธิบาย (clarification request) ชนิดของข้อมูลป้อนกลับที่ถูกใช้บ่อยที่สุดในบริบทห้องเรียนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ คือ การเปลี่ยนรูปใหม่ (recast) ในขณะที่การบอกใบ้ด้วยข้อมูลภาษา (metalinguistic clues) ถูกใช้บ่อยที่สุดในบริบทห้องเรียนนานาชาติ ข้อมูลป้อนกลับที่ถูกใช้น้อยที่สุดในบริบทห้องเรียนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ คือ การบอกใบ้ด้วยข้อมูลภาษา (metalinguistic clues) และการขอให้อธิบาย (elicitation) ในขณะที่ในบริบทห้องเรียนนานาชาติ การถามซ้ำ (repetition) ถูกใช้น้อยที่สุด จากการสัมภาษณ์กับคุณครูจากบริบททั้งสองแสดงให้เห็นว่าการให้ความสำคัญกับรูปแบบของภาษาที่ต่างกันอาจส่งผลต่อการให้ข้อมูลป้อนกลับที่แตกต่างกัน จากการสังเกตและการสัมภาษณ์พบว่าครูผู้สอนให้ข้อมูลป้อนกลับโดยขาดความตระหนักเกี่ยวกับความหมายและคุณลักษณะ ของภาษาที่ต้องการแก้ไข งานวิจัยเสนอแนะถึงความจำเป็นในการฝึกครูผู้สอนภาษาอังกฤษให้ใช้ข้อมูลป้อนกลับอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพในห้องเรียนภาษา | |
dc.format.extent | x, 90 leaves | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | Thesis (M.A. (Applied Linguistics))--Mahidol University, 2017 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92359 | |
dc.language.iso | eng | |
dc.publisher | Mahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | Mahidol University | |
dc.subject | Second language acquisition | |
dc.subject | Feedback | |
dc.subject | English language -- Study and teaching | |
dc.title | A comparison of corrective feedback used in the international and the EFL contexts | |
dc.title.alternative | การเปรียบเทียบข้อมูลป้อนกลับในบริบทนานาชาติและบริบทสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ | |
dc.type | Master Thesis | |
dcterms.accessRights | open access | |
mods.location.url | http://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2560/cd528/5736190.pdf | |
thesis.degree.department | Faculty of Liberal Arts | |
thesis.degree.discipline | Applied Linguistics | |
thesis.degree.grantor | Mahidol University | |
thesis.degree.level | Master's degree | |
thesis.degree.name | Master of Arts |