The effects of Curcuma longa on arsenic induced alterations of blood glucose levels
Issued Date
2000
Copyright Date
2000
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ix, 118 leaves : ill. (some col.)
ISBN
9746651382
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Toxicology))--Mahidol University, 2000
Suggested Citation
Siriporn Lordngern The effects of Curcuma longa on arsenic induced alterations of blood glucose levels. Thesis (M.Sc. (Toxicology))--Mahidol University, 2000. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/94482
Title
The effects of Curcuma longa on arsenic induced alterations of blood glucose levels
Alternative Title(s)
ผลของขมิ้นชันที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงระดับน้ำตาลในเลือดของหนูที่ได้รับสารหนู
Author(s)
Abstract
This study used rats that received sodium arsenite (NaASO2)) 0.05 and 50 ppm in drinking water to determine the subchronic and chronic effects of arsenic on blood glucose levels. Significant alterations of basal blood glucose levels in both subchronic and chronic arsenic exposure were not detected. However, the enlargement of pancreatic islets (blood glucose regulating grands) was observed in both conditions. The severity of enlargement depended on the dose of arsenic. The insulin content was determined and it was found that the high dose of arsenic (NaAsO2)) 50 ppm) had more insulin content in islet cells than the low dose (NaAsO2)) 0.05 ppm). Curcuma longa preparation available commercially in the market 100 mg/kgBW was orally administered to rats receiving sodium arsenite 0.05 and 50 ppm once daily for 3 months or 6 months. The significant protective effects of Curcuma longa in subchronic and chronic arsenic treated rats were not observed. There were no significant differences in basal blood glucose levels between arsenic treated groups and arsenic together with Curcuma longa treated groups. The enlargement of pancreatic islets was still observed in both groups. The results suggested that Curcuma longa at the dose and duration used did not protect arsenic-induced morphological changes of pancreatic islets. Arsenic content in the blood was also determined by atomic absorption spectrometry at various time intervals for 6 months. It was shown that Curcuma longa 100 mg/kgBW/day could significantly reduce arsenic content in the blood of rats treated with low dose of arsenic for 6 months at p <0.01. In this study, treatment with Curcuma longa alone at the dose of 100 mg/kgBW/day also induced morphological changes of pancreatic islets. Further study is needed to clarify its possible mechanisms.
การศึกษาฤทธิ์ของสารหนูในระยะกึ่งเรื้อรังและระยะเรื้อรังต่อระดับน้ำตาลในเลือด โดยการให้สารโซเดียมอาร์เซไนท์ 0.05 และ 50 ส่วนในล้านส่วนของน้ำดื่ม พบว่าระดับ น้ำตาลพื้นฐานเป็นปกติทั้งระยะกึ่งเรื้อรังและระยะเรื้อรัง แต่จากการศึกษาทาง จุลกายวิภาคศาสตร์ของเนื้อเยื่อตับอ่อน พบว่าหนูที่ได้รับสารโซเดียมอาร์เซไนท์ 0.05 และ 50 ส่วนในล้านส่วน ทั้งระยะกึ่งเรื้อรังและเรื้อรัง จะมีการขยายใหญ่ขึ้นของกลุ่ม เซลล์ในตับอ่อน ซึ่งมีหน้าที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด นอกจากนี้ยังพบว่าหนูที่ได้รับ สารโซเดียมอาร์เซไนท์ 50 ส่วนในล้านส่วนจะมีปริมาณฮอร์โมนอินซูลินในกลุ่มเซลล์ที่สร้าง อินซูลินมากกว่าหนูที่ได้รับสารโซเดียมอาร์เซไนท์ 0.05 ส่วนในล้านส่วน ในการทดลอง ครั้งนี้ได้ทดสอบผลของขมิ้นชันที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงระดับน้ำตาลในเลือดของหนู ที่ได้รับสารหนูควบคู่ไปด้วย โดยให้ขมิ้นชัน 100 มิลลิกรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม ทางปากทุกวันเป็นเวลา 3 เดือน (ระยะกึ่งเรื้อรัง) และ 6 เดือน (ระยะเรื้อรัง) ตรวจไม่พบความแตกต่างของระดับน้ำตาลในเลือดของหนูที่ได้รับสารหนูอย่างเดียวและหนูที่ ได้รับทั้งสารหนูและขมิ้นชัน ทั้งยังพบว่าการให้ขมิ้นชันไม่สามารถลดการขยายใหญ่ขึ้น ของกลุ่มเซลล์ที่สร้างอินซูลินในตับอ่อนของหนูที่ได้รับสารหนู การตรวจหาปริมาณสารหนู ในเลือดในระยะเรื้อรังทุก ๆ 2 เดือนเป็นเวลา 6 เดือน พบว่าขมิ้นชัน 100 มิลลิกรัมต่อ น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อวันสามารถลดปริมาณสารหนูในเลือดของหนูที่ได้รับสารโซเดียม อาร์เซไนท์ 0.05 ส่วนในล้านส่วน นอกจากนี้ยังพบว่าการให้ขมิ้นชันกับหนูปกติเป็นเวลา 3 เดือน และ 6 เดือน ทำให้มีการขยายใหญ่ขึ้นของกลุ่มเซลล์ที่สร้างอินซูลินในตับอ่อน ซึ่งจำเป็นต้องมีการศึกษาเพิ่มเติมต่อไปเพื่อให้แน่ชัดว่ามีสาเหตุการเกิดได้อย่างไร
การศึกษาฤทธิ์ของสารหนูในระยะกึ่งเรื้อรังและระยะเรื้อรังต่อระดับน้ำตาลในเลือด โดยการให้สารโซเดียมอาร์เซไนท์ 0.05 และ 50 ส่วนในล้านส่วนของน้ำดื่ม พบว่าระดับ น้ำตาลพื้นฐานเป็นปกติทั้งระยะกึ่งเรื้อรังและระยะเรื้อรัง แต่จากการศึกษาทาง จุลกายวิภาคศาสตร์ของเนื้อเยื่อตับอ่อน พบว่าหนูที่ได้รับสารโซเดียมอาร์เซไนท์ 0.05 และ 50 ส่วนในล้านส่วน ทั้งระยะกึ่งเรื้อรังและเรื้อรัง จะมีการขยายใหญ่ขึ้นของกลุ่ม เซลล์ในตับอ่อน ซึ่งมีหน้าที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด นอกจากนี้ยังพบว่าหนูที่ได้รับ สารโซเดียมอาร์เซไนท์ 50 ส่วนในล้านส่วนจะมีปริมาณฮอร์โมนอินซูลินในกลุ่มเซลล์ที่สร้าง อินซูลินมากกว่าหนูที่ได้รับสารโซเดียมอาร์เซไนท์ 0.05 ส่วนในล้านส่วน ในการทดลอง ครั้งนี้ได้ทดสอบผลของขมิ้นชันที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงระดับน้ำตาลในเลือดของหนู ที่ได้รับสารหนูควบคู่ไปด้วย โดยให้ขมิ้นชัน 100 มิลลิกรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม ทางปากทุกวันเป็นเวลา 3 เดือน (ระยะกึ่งเรื้อรัง) และ 6 เดือน (ระยะเรื้อรัง) ตรวจไม่พบความแตกต่างของระดับน้ำตาลในเลือดของหนูที่ได้รับสารหนูอย่างเดียวและหนูที่ ได้รับทั้งสารหนูและขมิ้นชัน ทั้งยังพบว่าการให้ขมิ้นชันไม่สามารถลดการขยายใหญ่ขึ้น ของกลุ่มเซลล์ที่สร้างอินซูลินในตับอ่อนของหนูที่ได้รับสารหนู การตรวจหาปริมาณสารหนู ในเลือดในระยะเรื้อรังทุก ๆ 2 เดือนเป็นเวลา 6 เดือน พบว่าขมิ้นชัน 100 มิลลิกรัมต่อ น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อวันสามารถลดปริมาณสารหนูในเลือดของหนูที่ได้รับสารโซเดียม อาร์เซไนท์ 0.05 ส่วนในล้านส่วน นอกจากนี้ยังพบว่าการให้ขมิ้นชันกับหนูปกติเป็นเวลา 3 เดือน และ 6 เดือน ทำให้มีการขยายใหญ่ขึ้นของกลุ่มเซลล์ที่สร้างอินซูลินในตับอ่อน ซึ่งจำเป็นต้องมีการศึกษาเพิ่มเติมต่อไปเพื่อให้แน่ชัดว่ามีสาเหตุการเกิดได้อย่างไร
Description
Toxicology (Mahidol University 2000)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Science
Degree Discipline
Toxicology
Degree Grantor(s)
Mahidol University