An investigation of thematic progression patterns in reading comprehension of the IELTS
Issued Date
2024
Copyright Date
2020
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xv, 84 leaves: ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.A. (Applied Linguistics))--Mahidol University, 2020
Suggested Citation
Warangkana Vanta An investigation of thematic progression patterns in reading comprehension of the IELTS. Thesis (M.A. (Applied Linguistics))--Mahidol University, 2020. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/99419
Title
An investigation of thematic progression patterns in reading comprehension of the IELTS
Alternative Title(s)
การศึกษารูปแบบของการพัฒนาของสารในแบบทดสอบ IELTS เรื่องการอ่านเพื่อความเข้าใจ
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
Grounded on the framework of the systemic functional grammar of Theme-Rheme analysis (Thompson, 2004) and the model of thematic progression (Dane?, 1974), this study was conducted to investigate the frequencies of thematic progression types (e.g., Linear, Constant, or Derived) in the IELTS academic and IELTS general training reading comprehension texts in an effort to further understanding of the structure of reading texts in one of the world-renowned standardized tests. The study recruited overall 60 IELTS reading comprehension practice texts, 30 from academic and 30 from general training schemes. The texts, then, were categorized into three thematic progression types. The findings revealed that the most frequently used thematic progression was the Derived type. Another considerable finding was that there was less frequency of Derived thematic progression in the general training than the academic reading comprehension texts. Moreover, there were some common elements in textual construction. The element allocation is a significant factor to differentiate the texts.
งานวิจัยฉบับนี้จัดทำขึ้นโดยอาศัยแนวคิดพื้นฐานของ Systemic Functional Grammar (SFG) ซึ่งผู้วิจัยได้ประยุกต์หลักการการวิเคราะห์ Theme-Rheme ของ Thompson (2004) และการวิเคราะห์รูปแบบของการพัฒนาของสาร ออกเป็น 3 รูปแบบ ได้แก่ Linear Constant และ Derived ของ Dane?, (1974) มาเป็นกรอบแนวคิดหลักในการวิเคราะห์ข้อมูล ทั้งนี้ผู้วิจัยได้ใช้หลักการดังกล่าวเพื่อวิเคราะห์บทความจากแบบทดสอบเรื่องการอ่านเพื่อความเข้าใจใน IELTS สองประเภท อันได้แก่ ประเภทวิชาการ (academic) และ ประเภททั่วไป (general training) จากการรวบรวมบทความ จำนวนทั้งสิ้น 60 บทความ แบ่งเป็นประเภทวิชาการ (academic) 30 บทความ และประเภททั่วไป (general training) 30 บทความ แล้วนำมาวิเคราะห์รูปแบบของการพัฒนาของสารในบทความดังกล่าว ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า (1) รูปแบบของการพัฒนาของข้อความที่พบมากที่สุดในแบบทดสอบเรื่องการอ่านใน IELTS ทั้งสองประเภท คือ รูปแบบ Derived (2) อัตราส่วนของรูปแบบการพัฒนาของสารรูปแบบ Derived ในแบบทดสอบเรื่องการอ่านเพื่อความเข้าใจในแบบทดสอบ IELTS แต่ละประเภทมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ และ (3) ผู้วิจัยพบว่าในการพัฒนาของสารในแบบทดสอบ IELTS ทั้งสองประเภท จะมีองค์ประกอบหลักของบทความที่เหมือนกันอยู่ หากแต่องค์ประกอบดังกล่าวจะมีการจัดเรียงและเชื่อมต่อในรูปแบบต่างๆ กัน ซึ่งจะมี ผลต่อความยากในการอ่านสารนั้นๆ ด้วย
งานวิจัยฉบับนี้จัดทำขึ้นโดยอาศัยแนวคิดพื้นฐานของ Systemic Functional Grammar (SFG) ซึ่งผู้วิจัยได้ประยุกต์หลักการการวิเคราะห์ Theme-Rheme ของ Thompson (2004) และการวิเคราะห์รูปแบบของการพัฒนาของสาร ออกเป็น 3 รูปแบบ ได้แก่ Linear Constant และ Derived ของ Dane?, (1974) มาเป็นกรอบแนวคิดหลักในการวิเคราะห์ข้อมูล ทั้งนี้ผู้วิจัยได้ใช้หลักการดังกล่าวเพื่อวิเคราะห์บทความจากแบบทดสอบเรื่องการอ่านเพื่อความเข้าใจใน IELTS สองประเภท อันได้แก่ ประเภทวิชาการ (academic) และ ประเภททั่วไป (general training) จากการรวบรวมบทความ จำนวนทั้งสิ้น 60 บทความ แบ่งเป็นประเภทวิชาการ (academic) 30 บทความ และประเภททั่วไป (general training) 30 บทความ แล้วนำมาวิเคราะห์รูปแบบของการพัฒนาของสารในบทความดังกล่าว ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า (1) รูปแบบของการพัฒนาของข้อความที่พบมากที่สุดในแบบทดสอบเรื่องการอ่านใน IELTS ทั้งสองประเภท คือ รูปแบบ Derived (2) อัตราส่วนของรูปแบบการพัฒนาของสารรูปแบบ Derived ในแบบทดสอบเรื่องการอ่านเพื่อความเข้าใจในแบบทดสอบ IELTS แต่ละประเภทมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ และ (3) ผู้วิจัยพบว่าในการพัฒนาของสารในแบบทดสอบ IELTS ทั้งสองประเภท จะมีองค์ประกอบหลักของบทความที่เหมือนกันอยู่ หากแต่องค์ประกอบดังกล่าวจะมีการจัดเรียงและเชื่อมต่อในรูปแบบต่างๆ กัน ซึ่งจะมี ผลต่อความยากในการอ่านสารนั้นๆ ด้วย
Description
Applied Linguistics (Mahidol University 2020)
Degree Name
Master of Arts
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Liberal Arts
Degree Discipline
Applied Linguistics
Degree Grantor(s)
Mahidol University