The experience of Burmese migrants with tuberculosis in transnationalism context
dc.contributor.advisor | Pimpawun Boonmongkon | |
dc.contributor.advisor | Suchada Thaweesit | |
dc.contributor.advisor | Kanokwan Tharawan | |
dc.contributor.author | Supa Vittaporn | |
dc.date.accessioned | 2023-09-11T03:57:41Z | |
dc.date.available | 2023-09-11T03:57:41Z | |
dc.date.copyright | 2013 | |
dc.date.created | 2013 | |
dc.date.issued | 2023 | |
dc.description.abstract | The objectives of this research were to study 1) the context of Burmese migrant tuberculosis patients' lives; 2) operations of Thai state tuberculosis control as a form of governmentality; 3) the tuberculosis illness experiences of Burmese migrants that constitute acceptance, resistance or negotiation with the tuberculosis control and care system of the Thai state in the context of their migrant lives. Ethnographic research was used in studying communities of Burmese labor migrants who had tuberculosis and received care at one state hospital in Thailand. The data were analyzed using the concepts of transnationalism, neoliberalism, governmentality and illness experience. The findings can be summarized as follows. Burmese labor migrants in Thailand endure harsh living and work conditions that make them vulnerable to tuberculosis. The Thai state's tuberculosis control and care system, as a form of governmentality and "health securitization", involves mandatory health checkups on cross-border labor migrants, which turns them into a security threat to the Thai state and population in the public imagination, and objects of the gaze of the state. Public health personnel, as representatives of the state, surveillance and monitor their health and illness to contain security threats posed to Thai people by the possible spread of severe communicable illnesses. The illness experiences of Burmese cross-border labor migrants demonstrate that tuberculosis patients in this group fully accept the tuberculosis care system. However, this acceptance does not constitute submission to state policies. Rather, they take the opportunity provided by the Thai state to recover their health so that they can once more work to exchange their body capital into cash that they can then send to their families in Burma. | |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) บริบทชีวิตของผู้ป่วยวัณโรคชาวพม่าที่ดำรงอยู่ในพื้นที่ข้ามพรมแดน 2) เพื่อศึกษาปฏิบัติการของระบบการจัดบริการและควบคุมวัณโรคของรัฐไทยในฐานะการปกครองแบบชีวญาณ 3) เพื่อศึกษาประสบการณ์การเจ็บป่วยของแรงงานพม่าที่ป่วยด้วยวัณโรคที่ดำรงอยู่ ในรูปแบบของการยอมรับ ต่อต้าน ต่อรอง ต่อระบบการจัดบริการควบคุมและรักษาวัณโรคของรัฐไทยและภายใต้บริบทชีวิตข้ามพรมแดนระเบียบวิธีวิทยาที่ใช้ได้แก่การวิจัยเชิงชาติพันธุ์วรรณนาในชุมชนของกลุ่มแรงงานข้ามชาติที่ป่วยเป็นวัณโรคและมารับบริการที่โรงพยาบาลรัฐแห่งหนึ่งของประเทศไทย การวิเคราะห์ข้อมูลภายใต้กรอบแนวคิดการข้ามพรมแดน เสรีนิยมใหม่ การปกครองชีวญาณ และประสบการณ์ความเจ็บป่วย ผลการศึกษาสรุปได้ว่าแรงงานข้ามชาติที่เข้ามาทำงานในประเทศไทยต้องทนอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เลวร้าย ทั้งที่อยู่อาศัยและการทำงานที่เอื้อต่อการเจ็บป่วยเป็นวัณโรคลำหรับปฏิบัติการของระบบการจัดบริการและควบคุมวัณโรคของรัฐไทยในฐานะการปกครองแบบชีวญาณได้แก่การที่รัฐบาลได้ใช้นโยบายตรวจสุขภาพกับแรงงานข้ามชาติทำให้อัตลักษณ์ของแรงงานข้ามชาติ กลายเป็นปัญหาความมั่นคงทางด้านสุขภาพของรัฐไทยและประชากรไทย กระบวนการทำให้เกิดความมั่นคงทางด้านสุขภาพของรัฐไทยโดยใช้นโยบายตรวจสุขภาพกับแรงงานข้ามชาติเป็นการลดทอนชีวิตของแรงงานข้ามชาติให้กลายเป็นเพียงวัตถุของการจับจ้องจากรัฐ บุคลากรสาธารณสุขในฐานะที่เป็นตัวแทนของรัฐในการสอดส่อง เฝ้ าระวัง และติดตามแรงงานข้ามชาติในด้านสุขภาพและการเจ็บป่วยที่อาจนำโรคติดต่อร้ายแรงมาแพร่ อันกระทบต่อความมั่นคงทางด้านสุขภาพของคนในประเทศไทยสำหรับประสบการณ์การเจ็บป่วยของแรงงานพม่าที่ป่วยด้วยวัณโรคที่ดำรงอยู่พบว่าแรงงานข้ามชาติที่ป่วยวัณโรคยอมรับระบบการจัดบริการรักษาวัณโรคเป็นอย่างดี แต่รูปแบบดังกล่าว มิใช่การสยบยอมต่อนโยบายของรัฐ แต่เป็นการใช้โอกาสที่รัฐไทยเอื้อให้ตนเองได้ฟื้นฟูร่างกายเพื่อกลับคืนสู่ร่างของผู้ที่มีสุขภาพดีอีกครั้ง เพราะพวกเขามีเป้าหมายร่วมกันคือ "การทำงาน" เปลี่ยนร่างกายที่เป็นทุนของตนเองให้กลายเป็น "เงินตรา" เพื่อส่งกลับไปยังครอบครัวในประเทศพม่า | |
dc.format.extent | viii, 139 leaves | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | Thesis (Ph.D. (Medical and Health Social Sciences))--Mahidol University, 2013 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89753 | |
dc.language.iso | eng | |
dc.publisher | Mahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center | |
dc.rights.holder | Mahidol University | |
dc.subject | Neoliberalism | |
dc.subject | Attitude to Health | |
dc.subject | Tuberculosis | |
dc.subject | Transnationalism -- Thailand | |
dc.title | The experience of Burmese migrants with tuberculosis in transnationalism context | |
dc.title.alternative | ประสบการณ์ของแรงงานพม่าที่ป่วยเป็นวัณโรคในบริบทการย้ายถิ่นข้ามชาติ | |
dcterms.accessRights | restricted access | |
mu.link.internalLink | http://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2558/506/5036905.pdf | |
thesis.degree.department | Faculty of Social Sciences and Humanities | |
thesis.degree.discipline | Medical and Health Social Sciences | |
thesis.degree.grantor | Mahidol University | |
thesis.degree.level | Doctoral Degree | |
thesis.degree.name | Doctor of Philosophy |