The development of a Lecturer's Workload Database system in an open university case study : School of Science and Tecnology, Sukhothai Thammathirat Open University
Issued Date
2001
Copyright Date
2001
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ix, 39 leaves : ill.
ISBN
9746659529
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thematic Paper (M.Sc. (Technology of Information System Management))--Mahidol University, 2001
Suggested Citation
Jadoonporn Kiratisehwe The development of a Lecturer's Workload Database system in an open university case study : School of Science and Tecnology, Sukhothai Thammathirat Open University. Thematic Paper (M.Sc. (Technology of Information System Management))--Mahidol University, 2001. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/94811
Title
The development of a Lecturer's Workload Database system in an open university case study : School of Science and Tecnology, Sukhothai Thammathirat Open University
Alternative Title(s)
ระบบฐานข้อมูลภาระงานคณาจารย์ในระบบมหาวิทยาลัยเปิดกรณีศึกษา : สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
The purpose of this research was to design and develop a Lecturers Workload Database (LWD) system in an open university case study: School of Science and Technology (SST), Sukhothai Thammathirat Open University (STOU) in Nonthaburi, Thailand. This study applied the System Development Life Cycle (SDLC) approach to develop a prototype software for the LWD system. In conducting the research, the researcher dealt with data collection, analysis of problems in the current working system and the users requirements. In designing the system, the researcher used the Graphic User Interface (GUI) for design, and Microsoft Access 97 in the Third Normal Form (3NF) relation for database design. Likewise, Microsoft Access 97 was used for developing the application software. This system, which ran on a stand-alone (Personal Computer), was divided into three parts: data entry, enquiry, and reports. The first part was data initialization and lecturers workload data (personal data, workload, teaching, seminar & training, and absence). The next part was enquiry of all data. The last part was the concluding reports. This study resulted in a prototype system that could help to solve data redundancy and data inconsistency problems. The users could get information about lecturers workload quickly, efficiently and accurately which economized time and resources. Finally, the above suggests that the software developed in this study could be further improved for developing a program by using Microsoft Visual Basic 6.0 for secure data. This database design could serve as a guideline in further developing a system with Object-Oriented technology such as a Distance Teaching System in STOU.
งานวิจัยนี้ได้ทำขึ้นเพื่อออกแบบและพัฒนาต้นแบบระบบฐานข้อมูลภาระงานของคณาจารย์ ในส่วนงานสาขาวิชาของระบบมหาวิทยาลัยเปิด กรณีศึกษา : สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ซึ่งในการศึกษานั้นได้ใช้วิธี System Development Life Cycle ในการพัฒนาต้นแบบระบบดังกล่าว เริ่มจากการศึกษารวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ระบบงานและความ ต้องการของผู้ใช้ในปัจจุบัน ซึ่งผลการวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบได้เป็นไปตามความ ต้องการของผู้ใช้ในลักษณะที่ง่ายต่อการใช้งาน รวมทั้งมีการออกแบบฐานข้อมูลในลักษณะของ Relational database ที่เป็นไปตามหลักการของ Normalization ในระดับ 3NF โดยใช้ โปรแกรม Microsoft Access 97 ช่วยในการจัดการฐานข้อมูล และช่วยในการพัฒนา Application software ด้วยเช่นกัน ระบบฐานข้อมูลภาระงานของคณาจารย์แบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ 1. เป็นการบันทึกข้อมูลรหัสและประวัติต่างๆ (ประวัติส่วนตัว ภาระงาน ประสบการณ์ ที่เกี่ยวกับการสอน การสัมมนา/ฝึกอบรม/ดูงาน และการลา) 2. เป็นการสอบถามข้อมูลใน ฐานข้อมูลทั้งหมด และ 3. เป็นการออกรายงานต่างๆ จากการศึกษาพบว่าระบบดังกล่าวเป็นประโยชน์ในงานบริหารงานบุคคลของสาขาวิชา ซึ่ง ทำให้ทราบถึงภาระงานของคณาจารย์ในปีการศึกษาที่ผ่านมาเป็นต้น ส่วนในเรื่องข้อมูลจะช่วยแก้ ปัญหาในเรื่องความซ้ำซ้อนและความขัดแย้งกันของข้อมูล ได้ข้อมูลสารสนเทศอย่างรวดเร็วและ ถูกต้องยิ่งขึ้น ทำให้ประหยัดเวลาและทรัพยากรต่างๆ พร้อมทั้งสามารถใช้ในงานการประกัน คุณภาพทางด้านการศึกษาของอาจารย์ในระดับอุดมศึกษา ท้ายสุดนี้ ต้นแบบระบบที่ได้พัฒนา สามารถที่จะปรับปรุงให้ดีขึ้นต่อไป โดยใช้โปรแกรม Microsoft Visual Basic เพื่อป้องกัน ในเรื่องของระบบความปลอดภัย ส่วนการออกแบบระบบฐานข้อมูลที่ได้ก็สามารถที่จะเป็นแนวทาง ในการที่จะพัฒนาการออกแบบระบบฐานข้อมูลในอนาคตที่มีโครงสร้างข้อมูลที่ซับซ้อนมากยิ่งขึ้น โดยใช้วิธี Object-Oriented technology เช่น ระบบการสอนทางไกลของคณาจารย์ใน สาขาวิชา เป็นต้น
งานวิจัยนี้ได้ทำขึ้นเพื่อออกแบบและพัฒนาต้นแบบระบบฐานข้อมูลภาระงานของคณาจารย์ ในส่วนงานสาขาวิชาของระบบมหาวิทยาลัยเปิด กรณีศึกษา : สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ซึ่งในการศึกษานั้นได้ใช้วิธี System Development Life Cycle ในการพัฒนาต้นแบบระบบดังกล่าว เริ่มจากการศึกษารวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ระบบงานและความ ต้องการของผู้ใช้ในปัจจุบัน ซึ่งผลการวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบได้เป็นไปตามความ ต้องการของผู้ใช้ในลักษณะที่ง่ายต่อการใช้งาน รวมทั้งมีการออกแบบฐานข้อมูลในลักษณะของ Relational database ที่เป็นไปตามหลักการของ Normalization ในระดับ 3NF โดยใช้ โปรแกรม Microsoft Access 97 ช่วยในการจัดการฐานข้อมูล และช่วยในการพัฒนา Application software ด้วยเช่นกัน ระบบฐานข้อมูลภาระงานของคณาจารย์แบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ 1. เป็นการบันทึกข้อมูลรหัสและประวัติต่างๆ (ประวัติส่วนตัว ภาระงาน ประสบการณ์ ที่เกี่ยวกับการสอน การสัมมนา/ฝึกอบรม/ดูงาน และการลา) 2. เป็นการสอบถามข้อมูลใน ฐานข้อมูลทั้งหมด และ 3. เป็นการออกรายงานต่างๆ จากการศึกษาพบว่าระบบดังกล่าวเป็นประโยชน์ในงานบริหารงานบุคคลของสาขาวิชา ซึ่ง ทำให้ทราบถึงภาระงานของคณาจารย์ในปีการศึกษาที่ผ่านมาเป็นต้น ส่วนในเรื่องข้อมูลจะช่วยแก้ ปัญหาในเรื่องความซ้ำซ้อนและความขัดแย้งกันของข้อมูล ได้ข้อมูลสารสนเทศอย่างรวดเร็วและ ถูกต้องยิ่งขึ้น ทำให้ประหยัดเวลาและทรัพยากรต่างๆ พร้อมทั้งสามารถใช้ในงานการประกัน คุณภาพทางด้านการศึกษาของอาจารย์ในระดับอุดมศึกษา ท้ายสุดนี้ ต้นแบบระบบที่ได้พัฒนา สามารถที่จะปรับปรุงให้ดีขึ้นต่อไป โดยใช้โปรแกรม Microsoft Visual Basic เพื่อป้องกัน ในเรื่องของระบบความปลอดภัย ส่วนการออกแบบระบบฐานข้อมูลที่ได้ก็สามารถที่จะเป็นแนวทาง ในการที่จะพัฒนาการออกแบบระบบฐานข้อมูลในอนาคตที่มีโครงสร้างข้อมูลที่ซับซ้อนมากยิ่งขึ้น โดยใช้วิธี Object-Oriented technology เช่น ระบบการสอนทางไกลของคณาจารย์ใน สาขาวิชา เป็นต้น
Description
Technology of Information System Management (Mahidol University 2001)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Engineering
Degree Discipline
Technology of Information System Management
Degree Grantor(s)
Mahidol University