A preventive and suppressive model on forced prostitution in Thailand and Lao People's Democratic Republic
Issued Date
2023
Copyright Date
2015
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xii, 182 leaves
Access Rights
restricted access
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D. (Criminology, Justice Administration and Society))--Mahidol University, 2015
Suggested Citation
Montree Yimyam A preventive and suppressive model on forced prostitution in Thailand and Lao People's Democratic Republic. Thesis (Ph.D. (Criminology, Justice Administration and Society))--Mahidol University, 2015. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89772
Title
A preventive and suppressive model on forced prostitution in Thailand and Lao People's Democratic Republic
Alternative Title(s)
รูปแบบของประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวในการป้องกันและปราบปรามการบังคับค้าประเวณี
Author(s)
Abstract
This research was conducted with the mixed methodology, qualitative and quantitative studies with the aims to learn polices and collaboration between Thailand and Lao People Democratic Republic in preventive and suppressive forced prostitution as well as explore the nature of problems and obstacles in proceeding with such operation and seek the model of preventive and suppressive measures. Data were collected with the constructed questionnaires for quantitative study on 219 police officers under the Prevention and Suppression Human Trafficking Bureau. As for qualitative study, the in depth questionnaires were used to collect data from 20 experts in handling Prevention and Suppression Human Trafficking, specifically for Thailand and Lao People Democratic Republic. The study findings reveal that presently Thailand has set up the policies and planned collaboration with Lao People Democratic Republic against human trafficking in accordance with the Memorandum of Understanding. Even though the operation that focused on women and children trafficking had been actively done to arrest the offenders, including offer assistance and remedy to the victims, problems and obstacles occurred while both countries jointly conducting the operation to prevent and suppress forced prostitution, mainly from managing personnel, administrative works, and handling data system. As a result none of the offenders were apprehended, only made the contact with the agencies involved to extradite the culprits in which the impacts landed heavily on the case prosecution according to the justice system. Therefore, the preventive and suppressive model on forced prostitution in Thailand and Lao People Democratic Republic was set up in 2 parts, a first model for establishing agencies and polices and a second model for the officers to follow during the operation . This research recommends collaboration between Thailand and Lao People Democratic Republic to adapt both models for practicing in all dimensions, not only with individual, agencies or organizations involved, technology, but also on laws and regulations related to the preventive and suppressive model on forced prostitution.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษานโยบายและความร่วมมือของประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวในการป้องกันและปราบปรามการบังคับค้าประเวณี และเพื่อศึกษาสภาพปัญหาและอุปสรรคของความร่วมมือของประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ในการป้องกันและปราบปรามการบังคับค้าประเวณี รวมทั้งเพื่อศึกษารูปแบบของประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ในการป้องกันและปราบปรามการบังคับค้าประเวณี ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ โดยการศึกษาเชิงปริมาณได้ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการเก็บแบบสอบถามกับเจ้าหน้าที่ตำรวจทุกคนในสังกัด กองบังคับการปราบปรามการกระทำผิดเกี่ยวกับการค้ามนุษย์ซึ่งมีจำนวนทั้งสิ้น 219 คน ส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้แบบ สัมภาษณ์เชิงลึกเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล ผู้วิจัยได้คัดเลือกจากผู้เชี่ยวชาญด้านการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์เฉพาะประเทศไทย และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว จำนวนรวมทั้งสิ้น 20 คน ผลการศึกษา พบว่า ปัจจุบันประเทศไทยมีนโยบายและความร่วมมือกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ในการดำเนินการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ตามบันทึกความเข้าใจระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ว่าด้วยความร่วมมือต่อต้านการค้ามนุษย์ โดยเฉพาะสตรีและเด็กนั้น ได้ดำเนินการโดยประสานความร่วมมือกันในเรื่องการจับกุมผู้กระทำผิด รวมทั้งช่วยเหลือและเยียวยาเหยื่อ แต่ยังคงพบสภาพปัญหาและอุปสรรคทางความร่วมมือของประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวในการป้องกันและปราบปรามการบังคับค้าประเวณีนั้น เกิดจาก 3 ส่วนหลัก ได้แก่ บุคลากร การบริหารงาน และระบบข้อมูล โดยยังไม่สามารถจับกุมผู้กระทำผิดข้ามประเทศได้ ทำได้เพียงการประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดนเท่านั้น ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อการดำเนินคดีตามกระบวนการยุติธรรม ดังนั้น รูปแบบของประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ในการป้องกันและปราบปรามการบังคับค้าประเวณี แยกออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ รูปแบบหน่วยงานและนโยบายของประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ในการป้องกันและปราบปรามการบังคับค้าประเวณี และรูปแบบเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานของประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ในการป้องกันและปราบปรามการบังคับค้าประเวณีโดยทั้ง 2 รูปแบบนี้ ประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ควรนำมาประยุกต์ใช้ให้ครอบคลุมทุกมิติ ได้แก่ มิติด้านบุคคล มิติของหน่วยงานหรือองค์กรที่เกี่ยวข้อง มิติเทคโนโลยี และมิติเรื่องกฎหมายหรือหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการบังคับค้าประเวณี
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษานโยบายและความร่วมมือของประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวในการป้องกันและปราบปรามการบังคับค้าประเวณี และเพื่อศึกษาสภาพปัญหาและอุปสรรคของความร่วมมือของประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ในการป้องกันและปราบปรามการบังคับค้าประเวณี รวมทั้งเพื่อศึกษารูปแบบของประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ในการป้องกันและปราบปรามการบังคับค้าประเวณี ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ โดยการศึกษาเชิงปริมาณได้ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการเก็บแบบสอบถามกับเจ้าหน้าที่ตำรวจทุกคนในสังกัด กองบังคับการปราบปรามการกระทำผิดเกี่ยวกับการค้ามนุษย์ซึ่งมีจำนวนทั้งสิ้น 219 คน ส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้แบบ สัมภาษณ์เชิงลึกเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล ผู้วิจัยได้คัดเลือกจากผู้เชี่ยวชาญด้านการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์เฉพาะประเทศไทย และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว จำนวนรวมทั้งสิ้น 20 คน ผลการศึกษา พบว่า ปัจจุบันประเทศไทยมีนโยบายและความร่วมมือกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ในการดำเนินการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ตามบันทึกความเข้าใจระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ว่าด้วยความร่วมมือต่อต้านการค้ามนุษย์ โดยเฉพาะสตรีและเด็กนั้น ได้ดำเนินการโดยประสานความร่วมมือกันในเรื่องการจับกุมผู้กระทำผิด รวมทั้งช่วยเหลือและเยียวยาเหยื่อ แต่ยังคงพบสภาพปัญหาและอุปสรรคทางความร่วมมือของประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวในการป้องกันและปราบปรามการบังคับค้าประเวณีนั้น เกิดจาก 3 ส่วนหลัก ได้แก่ บุคลากร การบริหารงาน และระบบข้อมูล โดยยังไม่สามารถจับกุมผู้กระทำผิดข้ามประเทศได้ ทำได้เพียงการประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดนเท่านั้น ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อการดำเนินคดีตามกระบวนการยุติธรรม ดังนั้น รูปแบบของประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ในการป้องกันและปราบปรามการบังคับค้าประเวณี แยกออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ รูปแบบหน่วยงานและนโยบายของประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ในการป้องกันและปราบปรามการบังคับค้าประเวณี และรูปแบบเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานของประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ในการป้องกันและปราบปรามการบังคับค้าประเวณีโดยทั้ง 2 รูปแบบนี้ ประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ควรนำมาประยุกต์ใช้ให้ครอบคลุมทุกมิติ ได้แก่ มิติด้านบุคคล มิติของหน่วยงานหรือองค์กรที่เกี่ยวข้อง มิติเทคโนโลยี และมิติเรื่องกฎหมายหรือหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการบังคับค้าประเวณี
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Faculty of Social Sciences and Humanities
Degree Discipline
Criminology, Justice Administration and Society
Degree Grantor(s)
Mahidol University