Request and politeness strategies in Burmese
Issued Date
2023
Copyright Date
2012
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xi, 219 leaves
Access Rights
restricted access
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D. (Linguistics))--Mahidol University, 2012
Suggested Citation
Ampika Rattanapitak Request and politeness strategies in Burmese. Thesis (Ph.D. (Linguistics))--Mahidol University, 2012. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89432
Title
Request and politeness strategies in Burmese
Alternative Title(s)
กลวิธีการขอร้องและความสุภาพในภาษาพม่า
Author(s)
Abstract
This study investigates the speech act of request in Burmese in terms of forms, patterns, strategies, and politeness. The main data were collected by questionnaires supplemented bydata from observations. Burmese requests were analyzed based on the model of Blum-Kulka, House and Kasper (1989) and the politeness theory of Brown and Levinson (1987). The results show that Burmese requests can be formed with four linguistic constructions: imperative, interrogative, negative, and declarative constructions. The common form of Burmese request is the verb plus politeness marker yg /pa/ which can be used in every situation regardless of any social factors. Request utterances consist of four components: head-act, alerter, supportive move, and request indicator. The first three components are also in common with other languages, while the last one emerged in this study. As for the request strategies used by Burmese people, there are three main strategies: direct, conventional indirect, and nonconventional indirect strategies. In terms of the preference strategy, both direct and conventional indirect requests are preferred in Burmese requests. This does not support the universal request phenomena proposed by Blum-Kulka et al. Additionally, in order to make an appropriate request in different contexts, request utterances were redressed by both external and internal modifications either to decrease or increase the force of the request. As an intrinsic face threatening act, requests can be made by using different politeness strategies. There are five politeness strategies found: bald on record, on record with redressive action by positive politeness, on record with redressive action by negative politeness, off record, and don't do FTA. These politeness strategies are the same as those proposed by Brown and Levinson, however, there are some sub-strategies which reflect the characteristic of Burmese.
วิทยานิพนธ์นี้ ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างทางภาษา รูปแบบ กลวิธีและความสุภาพในวัจนกรรมการขอร้องภาษาพม่า โดยใช้ข้อมูลที่เก็บจากแบบสอบถามประกอบกับการสังเกตการใช้ภาษาในชีวิตประจำวันของชาวพม่า การวิเคราะห์ข้อมูลใช้แนวการวิเคราะห์ตามแบบของ บลูม-กัลกา เฮาส์และแคสเปอร์ (Blum-Kulka, House & Kasper, 1989) และทฤษฎีความสุภาพของบราวน์และ เลวินสัน (Brown & Levinson, 1987) ผลการศึกษาพบว่า โครงสร้างทางภาษาของถ้อยคำแสดงการขอร้องภาษาพม่ามี 4 แบบ คือ ประโยคคำสั่ง คำถาม ปฏิเสธ และบอกเล่า โครงสร้างที่ประกอบด้วยกริยาวลีกับคำแสดงความสุภาพ สามารถใช้ได้ในทุกบริบทโดยไม่ต้องคำนึงถึงปัจจัยทางสังคมใด ๆ ถ้อยคำขอร้องภาษาพม่าประกอบด้วยองค์ประกอบ 4 ส่วน ได้แก่ หน่วยหลัก หน่วยแสดงการเรียกร้องความสนใจ หน่วยเสริมการ ขอร้องและหน่วยบ่งชี้ ารขอร้อง โดย 3 องค์ประกอบแรกพบในการศึกษาภาษาอื่นด้วย แต่องค์ประกอบ สุดท้ายพบในการศึกษานี้ ส่วนกลวิธีการขอร้องนั้น ชาวพม่าใช้กลวิธีการขอร้อง 3 กลวิธี คือ การขอร้อง แบบตรง แบบอ้อมอย่างมีแบบแผน และแบบอ้อมอย่างไม่มีแบบแผน ชาวพม่านิยมใช้ทั้งกลวิธีการขอร้อง แบบตรงและแบบอ้อมอย่างมีแบบแผน ซึ่ง ไม่เป็นไปตามข้อเสนอเรื่องสากลลักษณ์ของการขอร้อง และยังมี การตกแต่งถ้อยคำขอร้องให้เหมาะสมกับบริบทที่ต่างกันด้วยการเพิ่มหรือลดน้ำหนักการขอร้อง การ ขอร้องยังทำได้โดยใช้กลวิธีความสุภาพ 5 กลวิธี คือ กลวิธีแบบตรง กลวิธีแบบตรงที่มีการตกแต่งข้อความ ด้วยความสุภาพเชิงบวก กลวิธีแบบตรงที่มีการตกแต่งข้อความด้วยความสุภาพเชิงลบ กลวิธีแบบอ้อม และ กลวิธีไม่ทำการคุกคามหน้า แม้ว่ากลวิธีความสุภาพหลักที่พบจะเป็นไปตามทฤษฎีของบราวน์กับเลวินสัน แต่ยังพบว่ามีกลวิธีความสุภาพย่อยที่สะท้อนลักษณะเฉพาะของภาษาพม่าด้วย
วิทยานิพนธ์นี้ ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างทางภาษา รูปแบบ กลวิธีและความสุภาพในวัจนกรรมการขอร้องภาษาพม่า โดยใช้ข้อมูลที่เก็บจากแบบสอบถามประกอบกับการสังเกตการใช้ภาษาในชีวิตประจำวันของชาวพม่า การวิเคราะห์ข้อมูลใช้แนวการวิเคราะห์ตามแบบของ บลูม-กัลกา เฮาส์และแคสเปอร์ (Blum-Kulka, House & Kasper, 1989) และทฤษฎีความสุภาพของบราวน์และ เลวินสัน (Brown & Levinson, 1987) ผลการศึกษาพบว่า โครงสร้างทางภาษาของถ้อยคำแสดงการขอร้องภาษาพม่ามี 4 แบบ คือ ประโยคคำสั่ง คำถาม ปฏิเสธ และบอกเล่า โครงสร้างที่ประกอบด้วยกริยาวลีกับคำแสดงความสุภาพ สามารถใช้ได้ในทุกบริบทโดยไม่ต้องคำนึงถึงปัจจัยทางสังคมใด ๆ ถ้อยคำขอร้องภาษาพม่าประกอบด้วยองค์ประกอบ 4 ส่วน ได้แก่ หน่วยหลัก หน่วยแสดงการเรียกร้องความสนใจ หน่วยเสริมการ ขอร้องและหน่วยบ่งชี้ ารขอร้อง โดย 3 องค์ประกอบแรกพบในการศึกษาภาษาอื่นด้วย แต่องค์ประกอบ สุดท้ายพบในการศึกษานี้ ส่วนกลวิธีการขอร้องนั้น ชาวพม่าใช้กลวิธีการขอร้อง 3 กลวิธี คือ การขอร้อง แบบตรง แบบอ้อมอย่างมีแบบแผน และแบบอ้อมอย่างไม่มีแบบแผน ชาวพม่านิยมใช้ทั้งกลวิธีการขอร้อง แบบตรงและแบบอ้อมอย่างมีแบบแผน ซึ่ง ไม่เป็นไปตามข้อเสนอเรื่องสากลลักษณ์ของการขอร้อง และยังมี การตกแต่งถ้อยคำขอร้องให้เหมาะสมกับบริบทที่ต่างกันด้วยการเพิ่มหรือลดน้ำหนักการขอร้อง การ ขอร้องยังทำได้โดยใช้กลวิธีความสุภาพ 5 กลวิธี คือ กลวิธีแบบตรง กลวิธีแบบตรงที่มีการตกแต่งข้อความ ด้วยความสุภาพเชิงบวก กลวิธีแบบตรงที่มีการตกแต่งข้อความด้วยความสุภาพเชิงลบ กลวิธีแบบอ้อม และ กลวิธีไม่ทำการคุกคามหน้า แม้ว่ากลวิธีความสุภาพหลักที่พบจะเป็นไปตามทฤษฎีของบราวน์กับเลวินสัน แต่ยังพบว่ามีกลวิธีความสุภาพย่อยที่สะท้อนลักษณะเฉพาะของภาษาพม่าด้วย
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Research Institute for Languages and Cultures of Asia
Degree Discipline
Linguistics
Degree Grantor(s)
Mahidol University