การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัดในหอผู้ป่วยพิเศษด้วย Lean Thinking in Health Care
dc.contributor.author | ตรีทิพย์ ปานเจริญ | en_US |
dc.contributor.author | ญาดา มาชู | en_US |
dc.contributor.author | เขมรัตน์ สุทธรินทร์ | en_US |
dc.contributor.author | กนกวรรณ บุญสังข์ | en_US |
dc.contributor.author | ช่อผกา บัวบุตร | en_US |
dc.contributor.author | ศริยา แก้วขุนทอง | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล | en_US |
dc.date.accessioned | 2021-09-10T03:06:09Z | |
dc.date.available | 2021-09-10T03:06:09Z | |
dc.date.created | 2564-09-10 | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.description | ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน “Mahidol Quality Fair 2018” “Valuing People : คุณค่าคน คุณค่างาน”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561. หน้า 232 | en_US |
dc.description.abstract | หอผู้ป่วยอายุรศาสตร์ในสังกัดงานการพยาบาลผู้ป่วยพิเศษ ฝ่ายการ พยาบาล โรงพยาบาลศิริราช จำนวน 5 หอผู้ป่วย รับผู้ป่วยมะเร็งที่มารับยา เคมีบำบัด เป็นจำนวนทั้งสิ้น 5,474 ราย (พ.ศ. 2558 – 2560) คิดเป็น 53% ของผู้ป่วยที่รับไว้ดูแลทั้งหมด จากการวิเคราะห์ข้อมูลตั้งแต่เดือนมิถุนายน – สิงหาคม 2560 ระยะเวลารอคอยของผู้ป่วยตั้งแต่รับเข้าหอผู้ป่วยจนกระทั่งรับ ยาเคมีบำบัด เป็นระยะเวลาเฉลี่ยเท่ากับ 8 ชั่วโมง คิดเป็นร้อยละ 80 ส่งผลให้ เกิดข้อร้องเรียนและความพึงพอใจของผู้ป่วยและญาติ ระยะเวลารอคอยที่ เกิดขึ้น ยังมีผลต่อ turnover rate และรายได้ของโรงพยาบาลด้วย | en_US |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/63479 | |
dc.language.iso | tha | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.rights.holder | กองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | ผู้ป่วยมะเร็ง | en_US |
dc.subject | เคมีบำบัด | en_US |
dc.subject | lean | en_US |
dc.subject | หอผู้ป่วยอายุรศาสตร์ | en_US |
dc.title | การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัดในหอผู้ป่วยพิเศษด้วย Lean Thinking in Health Care | en_US |
dc.type | Proceeding Abstract | en_US |