The promotion of food consumption behavior applying self-efficacy theory and social support among hemodialysis patients

dc.contributor.advisorParadee Temcharoen
dc.contributor.authorYupin Tultrirat
dc.date.accessioned2025-03-11T06:50:10Z
dc.date.available2025-03-11T06:50:10Z
dc.date.copyright2005
dc.date.created2025
dc.date.issued2005
dc.descriptionNutrition (Mahidol University 2005)
dc.description.abstractMalnutrition is a common problem in hemodialysis patients. Appropriate food consumption can prevent malnutrition and complications from retention of uremic substances and minerals in the body. The purpose of this quasi-experimental study was to evaluate the effect of the promotion of a food consumption behavior program among hemodialysis patients. The samples consisted of 32 patients undergoing hemodialysis from 2 hospitals under the Department of Medical Services, Bangkok Metropolitan Administration. The duration of the program was 8 weeks with a 12 week follow up. Data were collected using interview questionnaires and 3-days food records. The anthropometric measurement and biological assessment were compared before and after the experiment. Statistical analysis was performed by using mean, standard deviation, paired t-test and repeated measurement ANOVA. Results of this study indicated that after the experiment, the sample group had a mean score of perceived self-efficacy and outcome expectation on food consumption significantly higher than before the experiment (p< 0.001). The number of samples who had protein and energy intakes at the recommended level was increased. Whereas, sodium, potassium and phosphate intake of the sample were at the normal limitation. The assessment of body mass index and mid-upper arm muscle circumference showed no significant change. However, the levels of serum BUN and potassium were significantly lower than before the experiment (p< 0.01). The results of this research indicate that a promotion of food consumption behavior program applying self-efficacy theory and social support improved food consumption behavior in of the sample group. The support from their families also had an effect in sustaining food consumption behavior.
dc.description.abstractภาวะทุพโภชนาการเป็นปัญหาสำคัญที่พบในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม การรับประทานอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมจึงมีความสำคัญกับผู้ป่วย เพื่อป้องกันการขาดสารอาหารและป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการคั่งของของเสียและเกลือแร่ในร่างกาย วัตถุประสงค์ของการวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ เพื่อศึกษาผลของการประยุกต์ทฤษฎีความสามารถตนเองร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคม ในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม จากโรงพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร 2 แห่ง จำนวน 32 คน ระยะเวลาในการศึกษา 8 สัปดาห์ และระยะติดตามผล 12 สัปดาห์ รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ การบันทึกอาหารบริโภค 3 วัน การตรวจร่างกายและผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ก่อนการทดลองหลังการทดลอง และระยะติดตามผล วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยใช้ ค่าเฉลี่ย, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน, paired t-test, repeated measurement ANOVA ผลการวิจัยพบว่าภายหลังการทดลองกลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้ความสามารถตนเอง ความคาดหวัง ผลดีของการปฏิบัติในด้านการรับประทานอาหารสูงขึ้นกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) ในด้านการรับประทานอาหาร พบว่ากลุ่มตัวอย่างรับประทานอาหารที่มีพลังงานและโปรตีนในเกณฑ์ที่กำหนดเพิ่มขึ้น ส่วนการรับประทานอาหารที่มีเกลือโซเดียม โปแตสเซียม ฟอสเฟต อยู่ในเกณฑ์ปกติ การประเมินภาวะโภชนาการของกลุ่มตัวอย่าง ไม่พบการเปลี่ยนแปลงของดัชนีมวลกายและขนาดกล้ามเนื้อต้นแขนของกลุ่มตัวอย่างในขณะที่ระดับยูเรียไนโตรเจน และโปแตสเซียมในเลือดลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.01) จากผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าการจัดโปรแกรมการส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหาร โดยประยุกต์ทฤษฎีความสามารถตนเอง ร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคม มีผลในการช่วยปรับปรุงพฤติกรรมการบริโภคอาหารของกลุ่มตัวอย่างแรงสนับสนุนจากครอบครัว มีส่วนช่วยให้เกิดความยั่งยืนของพฤติกรรมการบริโภคอาหารต่อไป
dc.format.extentx, 144 leaves
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationThesis (M.Sc. (Nutrition))--Mahidol University, 2005
dc.identifier.isbn9740459846
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/106021
dc.language.isoeng
dc.publisherMahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderMahidol University
dc.subjectHemodialysis
dc.subjectSelf efficacy
dc.subjectSocial support
dc.subjectFood consumption
dc.titleThe promotion of food consumption behavior applying self-efficacy theory and social support among hemodialysis patients
dc.title.alternativeการส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหาร โดยประยุกต์ทฤษฎีความสามารถตนเองร่วมกันแรงสนับสนุนทางสังคมในผู้ป่วยไตวายที่ฟอกเลือด
dc.typeMaster Thesis
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/4436052.pdf
thesis.degree.departmentFaculty of Public Health
thesis.degree.disciplineNutrition
thesis.degree.grantorMahidol University
thesis.degree.levelMaster's degree
thesis.degree.nameMaster of Science

Files