การเล่านิทานเป็นฐานเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมจริยธรรมในเด็กปฐมวัยที่ศึกษาอยู่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จังหวัดนครราชสีมา
Issued Date
2567
Copyright Date
2562
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ก-ฏ, 143 แผ่น : ภาพประกอบ
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (พัฒนาการมนุษย์))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2562
Suggested Citation
ณัฐชา จงทวีผล การเล่านิทานเป็นฐานเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมจริยธรรมในเด็กปฐมวัยที่ศึกษาอยู่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จังหวัดนครราชสีมา . วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (พัฒนาการมนุษย์))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2562 . สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92062
Title
การเล่านิทานเป็นฐานเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมจริยธรรมในเด็กปฐมวัยที่ศึกษาอยู่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จังหวัดนครราชสีมา
Alternative Title(s)
Storytelling to promote moral behaviors of early childhood studying in Child Development Centers, Nakhon Ratchasima province
Author(s)
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมจริยธรรมของ เด็กปฐมวัยก่อนและหลังการเล่านิทาน 2) เพื่อทราบถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมจริยธรรมของ เด็กปฐมวัย 3) เพื่อทราบถึงวิธีการที่เหมาะสมในการส่งเสริมพฤติกรรมจริยธรรมของเด็กปฐมวัย ในระยะยาว กลุ่มตัวอย่าง คือ เด็กปฐมวัยที่ศึกษาอยู่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จังหวัดนครราชสีมา จำนวน 30 คน โดยผู้วิจัยทำการศึกษาข้อมูลทุติยภูมิที่ได้รับการอนุเคราะห์จากสานักเลขาธิการ สภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งเป็นข้อมูลจากการวิจัยเชิงทดลองแบบหนึ่งกลุ่มทดสอบก่อน‒หลังการทดลอง และข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก และนามาวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และ Dependent Sample t‒test และวิเคราะห์เชิงเนื้อหาในส่วนของข้อมูลเชิงคุณภาพ ผลการวิจัยพบว่า 1) คะแนนพฤติกรรมจริยธรรมของกลุ่มตัวอย่างหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ทั้ง 3 ด้าน โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยเพิ่มมากที่สุดคือ ด้านการรู้จักควบคุมตนเอง รองลงมาคือ ด้านความเมตตากรุณาและ ด้านการรู้จักพึ่งพาตนเอง ตามลำดับ 2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมจริยธรรมของเด็กปฐมวัย ได้แก่ ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม และปัจจัยด้านพัฒนาการ 3) ทราบถึงวิธีการส่งเสริมพฤติกรรมจริยธรรมที่ครูและผู้ปกครองนำมาใช้กับเด็กปฐมวัยเพื่อให้เกิดผลในระยะยาว ทั้งหมด 5 วิธี
The objectives of this study are to: 1) compare moral behaviors of early childhood before and after the use of storytelling‒based approach; 2) learn about factors taking effect to moral behaviors of early childhood; and 3) learn about the appropriate methods to promote moral behaviors of early childhood in the long term. The sample group included 30 early‒childhood children in the child development center, Nakhon Ratchasima Province. In this study, the secondary data given by the Office of the Education Council, Ministry of Education, which was the data from the pre‒experimental design: one group pretest‒posttest, and the data from the in‒depth interview. The quantitative data analysis was done by the descriptive statistics and the dependent sample t‒test. The content analysis was done for the qualitative data. The results showed that: 1) sample group's moral behaviors posttest scores were higher than the moral behaviors pretest scores at the .01 level of significance in 3 aspects, that is, the moral behavior with the most increasing mean was self‒control, followed by generosity, and self‒reliance respectively; 2) factors taking effect to moral behaviors of early childhood were the environment factor, and development factor; and 3) there were 5 methods to be possibly used by teachers and parents to promote moral behaviors of early childhood to enhance the long‒term interest.
The objectives of this study are to: 1) compare moral behaviors of early childhood before and after the use of storytelling‒based approach; 2) learn about factors taking effect to moral behaviors of early childhood; and 3) learn about the appropriate methods to promote moral behaviors of early childhood in the long term. The sample group included 30 early‒childhood children in the child development center, Nakhon Ratchasima Province. In this study, the secondary data given by the Office of the Education Council, Ministry of Education, which was the data from the pre‒experimental design: one group pretest‒posttest, and the data from the in‒depth interview. The quantitative data analysis was done by the descriptive statistics and the dependent sample t‒test. The content analysis was done for the qualitative data. The results showed that: 1) sample group's moral behaviors posttest scores were higher than the moral behaviors pretest scores at the .01 level of significance in 3 aspects, that is, the moral behavior with the most increasing mean was self‒control, followed by generosity, and self‒reliance respectively; 2) factors taking effect to moral behaviors of early childhood were the environment factor, and development factor; and 3) there were 5 methods to be possibly used by teachers and parents to promote moral behaviors of early childhood to enhance the long‒term interest.
Description
พัฒนาการมนุษย์ (มหาวิทยาลัยมหิดล 2562)
Degree Name
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว
Degree Discipline
พัฒนาการมนุษย์
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล