The study of forgiveness among vocational students in Bangkok
Issued Date
2016
Copyright Date
2016
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
viii, 55 leaves
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Clinical Psychology))--Mahidol University, 2016
Suggested Citation
Onpraparn Thavepthavolvong The study of forgiveness among vocational students in Bangkok. Thesis (M.Sc. (Clinical Psychology))--Mahidol University, 2016. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/93314
Title
The study of forgiveness among vocational students in Bangkok
Alternative Title(s)
การศึกษาการให้อภัยของนักศึกษาอาชีวศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ในเขตกรุงเทพมหานครแห่งหนึ่ง
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
This research studied forgiveness among vocational students in Bangkok. The sample was 240 students in a vocational college from whom data was collected using a Forgiveness Scales for Teenagers Questionnaire. Data were analyzed using descriptive statistics (frequency, percentage, mean and standard deviation). Then, F-test (One-Way Analysis) was computed to compare forgiveness, in total and by subscale, among the sample classified by year and department. The results indicated that the Total-,Other- and Situation forgiveness were 'fairly forgive' while Self- subscale was 'quite forgive'. When comparing the total and subscale scores of forgiveness by year, the 1st-year students had higher scores than the 2nd-year students with the significance level at .05. However, both total and by-subscale scores of students from various departments were not different. The above findings reflected the characteristics of forgiveness in certificate vocational students which provide vital information in planning to promote forgiveness among them in order to inhibit violence when resolving conflict.
การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาการให้อภัยของนักศึกษาอาชีวศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ในเขตกรุงเทพมหานคร และ เปรียบเทียบการให้อภัยโดยรวมและรายด้าน จำแนกตามชั้นปีที่กำลังศึกษา และแผนกการศึกษา กลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาอาชีวศึกษาในระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพในเขตกรุงเทพมหานครแห่งหนึ่ง จำนวน 240 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแบบประเมินการให้อภัยของวัยรุ่น วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิเคราะห์ข้อมูลด้วยความถี่ ร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบการให้อภัยโดยรวมและรายด้าน จำแนกตามชั้นปีที่กำลังศึกษา และแผนกการศึกษาด้วย F-test (One-Way Analysis) ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างมี การให้อภัยโดยรวม การให้อภัยผู้อื่น และ การให้อภัยสถานการณ์ อยู่ในระดับให้อภัยพอ ๆ กับไม่ให้อภัย การให้อภัยตนเองอยู่ในระดับค่อนข้างจะให้อภัย ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยการให้อภัยโดยรวมและ รายด้าน จำแนกตามชั้นปีที่กำลังศึกษา และแผนกการศึกษาพบว่า นักศึกษาชั้นปีที่ 1 มีการให้อภัยผู้อื่นสูงกว่านักศึกษาชั้นปีที่2 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนนักศึกษาอาชีวศึกษาที่มีแผนกแตกต่างกันมีการให้อภัยโดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน ผลการศึกษาทำให้ทราบถึงลักษณะการให้อภัยของกลุ่มตัวอย่างซึ่งจะได้ เป็นข้อมูลในการวางแผนการเสริมสร้างการให้อภัยของนักศึกษาอาชีวศึกษา ที่จะช่วยลดปัญหาการใช้ความรุนแรงในการจัดการความขัดแย้ง
การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาการให้อภัยของนักศึกษาอาชีวศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ในเขตกรุงเทพมหานคร และ เปรียบเทียบการให้อภัยโดยรวมและรายด้าน จำแนกตามชั้นปีที่กำลังศึกษา และแผนกการศึกษา กลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาอาชีวศึกษาในระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพในเขตกรุงเทพมหานครแห่งหนึ่ง จำนวน 240 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแบบประเมินการให้อภัยของวัยรุ่น วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิเคราะห์ข้อมูลด้วยความถี่ ร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบการให้อภัยโดยรวมและรายด้าน จำแนกตามชั้นปีที่กำลังศึกษา และแผนกการศึกษาด้วย F-test (One-Way Analysis) ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างมี การให้อภัยโดยรวม การให้อภัยผู้อื่น และ การให้อภัยสถานการณ์ อยู่ในระดับให้อภัยพอ ๆ กับไม่ให้อภัย การให้อภัยตนเองอยู่ในระดับค่อนข้างจะให้อภัย ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยการให้อภัยโดยรวมและ รายด้าน จำแนกตามชั้นปีที่กำลังศึกษา และแผนกการศึกษาพบว่า นักศึกษาชั้นปีที่ 1 มีการให้อภัยผู้อื่นสูงกว่านักศึกษาชั้นปีที่2 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนนักศึกษาอาชีวศึกษาที่มีแผนกแตกต่างกันมีการให้อภัยโดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน ผลการศึกษาทำให้ทราบถึงลักษณะการให้อภัยของกลุ่มตัวอย่างซึ่งจะได้ เป็นข้อมูลในการวางแผนการเสริมสร้างการให้อภัยของนักศึกษาอาชีวศึกษา ที่จะช่วยลดปัญหาการใช้ความรุนแรงในการจัดการความขัดแย้ง
Description
Clinical Psychology (Mahidol University 2016)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Medicine Siriraj Hospital
Degree Discipline
Clinical Psychology
Degree Grantor(s)
Mahidol University