Correlation between cortical bone thickness and implant stability
Issued Date
2015
Copyright Date
2015
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xi, 46 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Implant Dentistry))--Mahidol University, 2015
Suggested Citation
Pobploy Petchmedyai Correlation between cortical bone thickness and implant stability. Thesis (M.Sc. (Implant Dentistry))--Mahidol University, 2015. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/94029
Title
Correlation between cortical bone thickness and implant stability
Alternative Title(s)
ความสัมพันธ์ระหว่างความหนาของกระดูกทึบกับเสถียรภาพของรากเทียม
Author(s)
Abstract
The objective of this research was to determine the relationship between cortical bone thickness measured by CBCT (cone beam computed tomography) and primary implant stability from RFA measurement (Resonance Frequency Analysis). A total of 12 implants were placed in 8 patients at the posterior mandible sites. The crestal cortical bone thickness, buccolingual bone thickness at 5 mm. below the alveolar crest, and bone quality of implant recipient sites were preoperatively recorded using CBCT. RFA measurements (ISQ value) were taken using an Osstell ISQ immediately after implant placement. The correlation between crestal cortical bone thickness and primary implant stability and correlation between buccolingual bone thickness and primary stability were tested using Pearson's correlation with a P value of less than 0.05 considered statistically significant. The results showed that mean crestal cortical bone thickness and buccolingual bone thickness at 5 mm. below the alveolar crest were 1.42 ± 0.65 mm. and 6.95 ± 1.37 mm., respectively. The bone at the implant sites was classified as bone quality type II and III. The mean ISQ value was 73.33 ± 6.14. No significant correlations were found between crestal cortical bone thickness and primary stability (r = 0.171, P > 0.05) and buccolingual bone thickness and primary stability (r = 0.473, P > 0.05). With the limitations of this study, crestal cortical bone thickness and buccolingual bone thickness seem not to influence the primary implant stability. Further research is required to confirm the outcome.
วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินความสัมพันธ์ระหว่างความหนาของกระดูกทึบจากภาพเอกซเรย์ คอมพิวเตอร์สามมิติ และเสถียรภาพของรากเทียมจากการใช้เครื่องวิเคราะห์คลื่นความถี่เรโซแนนซ์ วิธีทา ผู้ป่วยที่มีการสูญเสียฟันหลังล่างบางส่วนจำนวน 8 คน ได้รับการคัดเลือกให้เข้าร่วม ในการศึกษานี้ รากเทียมจำนวน 12 ราก ถูกนามาฝังในผู้ป่วย ก่อนการฝังรากเทียม เครื่องเอกซเรย์ คอมพิวเตอร์สามมิติถูกนาใช้วัดความหนาของกระดูกทึบบริเวณยอดสันกระดูก ความหนาของกระดูกใน แนวด้านแก้ม-ลิ้นที่ระดับ ต่ำกว่ายอดสันกระดูก 5 มิลลิเมตร และประเมินคุณภาพของกระดูกในตาแหน่งที่ จะฝังรากเทียม หลังการฝังรากเทียม เสถียรภาพของรากเทียมถูกประเมินโดยใช้เครื่องวิเคราะห์คลื่น ความถี่เรโซแนนซ์ ความสัมพันธ์ระหว่างความหนาของกระดูกทึบบริเวณยอดสันกระดูกและเสถียรภาพ ของรากเทียมและความสัมพันธ์ระหว่างความหนาของกระดูกในแนวด้านแก้ม-ลิ้นที่ระดับต่ำกว่ายอดสัน กระดูก 5 มิลลิเมตรและเสถียรภาพของรากเทียมถูกประเมินโดยใช้สถิติทดสอบค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เพียร์ซัน ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติที่ 0.05 เป็นเกณฑ์ในการยอมรับสมมติฐาน ผลการวิจัย ค่าเฉลี่ยของความหนาของกระดูกทึบบริเวณยอดสันกระดูกและความหนาของ กระดูกในแนวด้านแก้ม-ลิ้นที่ระดับต่ำกว่ายอดสันกระดูก 5 มิลลิเมตรเท่ากับ 1.42 ± 0.65 มิลลิเมตร และ 6.95 ± 1.37 มิลลิเมตรตามลาดับ กระดูกบริเวณที่จะฝังรากเทียมถูกประเมินคุณภาพเป็นชนิดที่ 2 และ 3 ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างความหนาของกระดูกทึบบริเวณยอดสันกระดูกและเสถียรภาพของรากเทียม (ค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ = 0.171 ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติที่ 0.05) และ ความสัมพันธ์ระหว่างความ หนาของกระดูกในแนวด้านแก้ม-ลิ้นที่ระดับต่ำกว่ายอดสันกระดูก 5 มิลลิเมตรและเสถียรภาพของรากเทียม (ค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ = 0.473 ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติที่ 0.05) สรุปผลการวิจัย เนื่องด้วยข้อจำกัดของการศึกษานี้ ความหนาของกระดูกทึบบริเวณยอดสัน กระดูก และความหนาของกระดูกในแนวด้านแก้มลิ้นบริเวณที่จะฝังรากเทียมอาจจะไม่มีผลกับเสถียรภาพ ของรากเทียมหลังการฝัง จำเป็นต้องมีการศึกษาเพิ่มเติมเพื่อยืนยันผลการศึกษา
วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินความสัมพันธ์ระหว่างความหนาของกระดูกทึบจากภาพเอกซเรย์ คอมพิวเตอร์สามมิติ และเสถียรภาพของรากเทียมจากการใช้เครื่องวิเคราะห์คลื่นความถี่เรโซแนนซ์ วิธีทา ผู้ป่วยที่มีการสูญเสียฟันหลังล่างบางส่วนจำนวน 8 คน ได้รับการคัดเลือกให้เข้าร่วม ในการศึกษานี้ รากเทียมจำนวน 12 ราก ถูกนามาฝังในผู้ป่วย ก่อนการฝังรากเทียม เครื่องเอกซเรย์ คอมพิวเตอร์สามมิติถูกนาใช้วัดความหนาของกระดูกทึบบริเวณยอดสันกระดูก ความหนาของกระดูกใน แนวด้านแก้ม-ลิ้นที่ระดับ ต่ำกว่ายอดสันกระดูก 5 มิลลิเมตร และประเมินคุณภาพของกระดูกในตาแหน่งที่ จะฝังรากเทียม หลังการฝังรากเทียม เสถียรภาพของรากเทียมถูกประเมินโดยใช้เครื่องวิเคราะห์คลื่น ความถี่เรโซแนนซ์ ความสัมพันธ์ระหว่างความหนาของกระดูกทึบบริเวณยอดสันกระดูกและเสถียรภาพ ของรากเทียมและความสัมพันธ์ระหว่างความหนาของกระดูกในแนวด้านแก้ม-ลิ้นที่ระดับต่ำกว่ายอดสัน กระดูก 5 มิลลิเมตรและเสถียรภาพของรากเทียมถูกประเมินโดยใช้สถิติทดสอบค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เพียร์ซัน ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติที่ 0.05 เป็นเกณฑ์ในการยอมรับสมมติฐาน ผลการวิจัย ค่าเฉลี่ยของความหนาของกระดูกทึบบริเวณยอดสันกระดูกและความหนาของ กระดูกในแนวด้านแก้ม-ลิ้นที่ระดับต่ำกว่ายอดสันกระดูก 5 มิลลิเมตรเท่ากับ 1.42 ± 0.65 มิลลิเมตร และ 6.95 ± 1.37 มิลลิเมตรตามลาดับ กระดูกบริเวณที่จะฝังรากเทียมถูกประเมินคุณภาพเป็นชนิดที่ 2 และ 3 ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างความหนาของกระดูกทึบบริเวณยอดสันกระดูกและเสถียรภาพของรากเทียม (ค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ = 0.171 ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติที่ 0.05) และ ความสัมพันธ์ระหว่างความ หนาของกระดูกในแนวด้านแก้ม-ลิ้นที่ระดับต่ำกว่ายอดสันกระดูก 5 มิลลิเมตรและเสถียรภาพของรากเทียม (ค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ = 0.473 ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติที่ 0.05) สรุปผลการวิจัย เนื่องด้วยข้อจำกัดของการศึกษานี้ ความหนาของกระดูกทึบบริเวณยอดสัน กระดูก และความหนาของกระดูกในแนวด้านแก้มลิ้นบริเวณที่จะฝังรากเทียมอาจจะไม่มีผลกับเสถียรภาพ ของรากเทียมหลังการฝัง จำเป็นต้องมีการศึกษาเพิ่มเติมเพื่อยืนยันผลการศึกษา
Description
Implant Dentistry (Mahidol University 2015)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Dentistry
Degree Discipline
Implant Dentistry
Degree Grantor(s)
Mahidol University