Effects of muscle and biofeedback training on pistol shooting performance
dc.contributor.advisor | Thyon Chentanez | |
dc.contributor.advisor | Chaturaporn Na Nakorn | |
dc.contributor.advisor | Wattana Jalayondeja | |
dc.contributor.author | Poolchai Chaiyapong | |
dc.date.accessioned | 2024-02-06T01:48:19Z | |
dc.date.available | 2024-02-06T01:48:19Z | |
dc.date.copyright | 2000 | |
dc.date.created | 2000 | |
dc.date.issued | 2000 | |
dc.description | Physiology of Exercise (Mahidol University 2000) | |
dc.description.abstract | The purpose of this study was to investigate the effects of isokinetic muscle training and heart rate biofeedback (HR BFB) training on pistol shooting performance. Fourteen male pistol shooters were divided into two groups known as control (C, n=7) and trained (T, n=7). For an isokinetic training program, a training group performed 8 weeks of maximal isokinetic training of both legs (knee flexor and extensor) and right arm (shoulder adductor and abductor), at the intensity of 10x10 repetitions with varying speed (180, 180, 120, 90, 60, 60, 90, 120, 180, 180 deg.s(-1)), 3 times per week. The data of fitness variables and shooting performance were collected at 4 trials of pretest (1 week before training program), test 1 (4 weeks after the training program began), test 2 (8 weeks after training began), and posttest (2 weeks after training stopped). Regular shooting training was on going in the same schedule as the control group. A biofeedback training program was carried out 2 weeks following posttest of the isokinetic program using the same group of subjects. Heart rate monitoring was used in combination with a concentration and relaxation program; the training program was performed 3 times per week for 6 weeks. The results of isokinetic muscle training showed that there was a significant increase (p<0.05) in shooting performance and muscle strength in the training group but there was no significant change in the control group (p>0.05). The results of biofeedback training showed that the percentage of triggering in the period of diastole was significantly increased (p<0.05) after training compared to the before training in the training group, while the control group was not significantly changed (p>0.05). However, the results of shooting performance were not significantly different (p<0.05) between before and after HR BFB training compared between the control and training groups. In conclusion, the isokinetic muscle training can improve muscle strength and shooting performance, while HR BFB training can increase the opportunity of triggering in the diastole period of the cardiac cycle, but does not seem to clearly increase the shooting performance. | |
dc.description.abstract | ได้ทำการศึกษาถึงผลของการฝึกกล้ามเนื้อ ด้วยวิธีไอโซไคเนติค และฝึกด้วยไบโอฟีด แบคของชีพจร (HR BFB) ต่อความสามารถในการยิงปืนสั้นในอาสาสมัคร ซึ่งเป็นนักกีฬายิงปืนสั้น ชายจำนวน 14 คน โดยแบ่งนักยิงปืนออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 7 คน โดยกลุ่มควบคุมจะได้รับ โปรแกรมการฝึกยิงตามปกติเพียงอย่างเดียว ส่วนกลุ่มที่ฝึกกล้ามเนื้อ จะได้รับโปรแกรมการฝึก ยิงปืนตามปกติร่วมกับโปรแกรมการฝึกกล้ามเนื้อแบบไอโซไคเนติค เป็นเวลา 8 สัปดาห์ โดยฝึก ส่วนข้อเข่าที่ขาทั้ง 2 ข้าง และกล้ามเนื้อหัวไหล่เฉพาะแขนขวา จำนวน 10 เซ็ตๆ ละ 10 ครั้ง โดยจะเปลี่ยนมุมความเร็วของการเคลื่อนไหว ดังนี้ (180, 180, 120, 90, 60, 60, 90, 120, 180, 180 องศาต่อวินาที) โดยทำการฝึกสัปดาห์ละ 3 ครั้ง โดยเก็บข้อมูลของสมรรถภาพ ทางกาย และความสามารถในการยิงปืนดังนี้ ข้อมูลเริ่มต้น (Pretest) หลังการฝึกกล้ามเนื้อ 4 สัปดาห์ (test 1) หลังการฝึกกล้ามเนื้อ 8 สัปดาห์ (test 2) และหลังจากหยุดฝึกกล้ามเนื้อ 2 สัปดาห์ (Posttest) หลังจากจบโปรแกรมการฝึกกล้ามเนื้อ 2 สัปดาห์ จึงทำการเริ่มการฝึก โดยใช้ไบโอฟีดแบคของชีพจร โดยใช้กลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดิม การฝึกไบโอฟีดแบคทำโดยฝึกยิงปืน โดยใช้เครื่องวัดสัญญาณชีพจร ร่วมกับการทำสมาธิและฝึกผ่อนคลายกล้ามเนื้อ 3 ครั้งต่อสัปดาห์ เป็นเวลา 6 สัปดาห์ ผลของการฝึกกล้ามเนื้อแบบไอโซไคเนติค พบว่า กลุ่มที่ฝึกกล้ามเนื้อร่วมกับ การฝึกยิงปืนมีความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ และความสามารถในการยิงปืนเพิ่มสูงขึ้นอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p<0.05 ภายหลัง 8 สัปดาห์ ส่วนในกลุ่มควบคุมไม่พบความ แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ p>0.05 ระหว่างก่อนและหลังการฝึก และพบว่าการฝึกด้วย ไบโอฟีดแบคของสัญญาณชีพจรไม่ทำให้ความสามารถในการยิงปืนเพิ่มขึ้น ภายหลังการฝึก 6 สัปดาห์ ที่ p>0.05 แต่สามารถเพิ่มโอกาสในการลั่นไกในจังหวะหัวใจคลายตัวเพิ่มขึ้นอย่างมีนัย สำคัญทางสถิติที่ระดับ p<0.05 เมื่อเทียบกับก่อนและหลังการฝึก โดยสรุปการฝึกกล้ามเนื้อ แบบไอโซไคเนติคทำให้สามารถในการยิงปืนและความแข็งแรงของกล้ามเนื้อเพิ่มมากขึ้น ส่วนการ ฝึกไบโอฟีดแบคของชีพจร สามารถเพิ่มโอกาสในการลั่นไกในจังหวะหัวใจคลายตัวเพิ่มมากขึ้น แต่ไม่พบว่าเพิ่มความสามารถในการยิงปืนของกลุ่มที่ฝึกด้วยไบโอฟีดแบคของสัญญาณชีพจร | |
dc.format.extent | xii, 117 leaves : ill. | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | Thesis (M.Sc. (Physiology of Exercise))--Mahidol University, 2000 | |
dc.identifier.isbn | 9746650106 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/94460 | |
dc.language.iso | eng | |
dc.publisher | Mahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | Mahidol University | |
dc.subject | Biofeedback training | |
dc.subject | Exercise | |
dc.subject | Muscles | |
dc.subject | Physical Fitness | |
dc.title | Effects of muscle and biofeedback training on pistol shooting performance | |
dc.title.alternative | ผลของการฝึกกล้ามเนื้อและไบโอฟีดแบคต่อความสามารถในการยิงปืนสั้น | |
dc.type | Master Thesis | |
dcterms.accessRights | open access | |
mods.location.url | http://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/scan/4136220.pdf | |
thesis.degree.department | Faculty of Science | |
thesis.degree.discipline | Physiology of Exercise | |
thesis.degree.grantor | Mahidol University | |
thesis.degree.level | Master's degree | |
thesis.degree.name | Master of Science |