E-Logistics for organic market toward Thailand 4.0
Issued Date
2018
Copyright Date
2018
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ix, 64 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Information Technology Management))--Mahidol University, 2018
Suggested Citation
Tatsanee Impradit E-Logistics for organic market toward Thailand 4.0. Thesis (M.Sc. (Information Technology Management))--Mahidol University, 2018. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92284
Title
E-Logistics for organic market toward Thailand 4.0
Alternative Title(s)
อีโลจิสติกส์ก้าวสู่ยุคต์สังคมทางการตลาดแห่งประเทศไทย 4.0
Author(s)
Abstract
A design management system of Organic Market 4.0 aims to control monitoring information flow, and help the farmers check and submit result of goods every year. The current supply chain management is a business that focuses on maximizing revenue for Thailand. The study found that the process through E-Logistics makes administration easy. It also shows the types of goods and annual total output of each of the sectors that are growing organic goods. Also, it has information flow about the criteria and standard organic market correctly to ensure optimal performance of Era Thailand 4.0. The designer has a concept of designing an E-Logistics Management System for the organic market using the Mobile Application Design method to monitor the flow of information, determine whether Good Agricultural Practice standard is met, and to understand the supply chain management process.
การออกแบบระบบการจัดการสำหรับตลาดเกษตรอินทรีย์ 4.0 มีเป้าหมายเพื่อควบคุมการไหลเวียนของข้อมูล และเพื่อช่วยให้ชาวเกษตรกร สามารถตรวจสอบและส่งผลข้อมูลผลผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ได้ในทุกปี การจัดการห่วงโซ่อุปทานในปัจจุบันเป็นธุรกิจที่มุ้งเน้นในการเพิ่มรายได้ให้กับประเทศไทย ผลการศึกษาพบว่าถ้ามีการจัดการกระบวนการในรูปแบบอีโลจิสติกส์แล้วจะทาให้การบริหารจัดการง่ายขึ้น ทำให้ทราบถึงประเภทและปริมาณผลผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ในแต่ละปี แต่ละภาคส่วนที่มีการเติบโตของสินค้าเกษตรอินทรีย์ นอกจากนี้ยังมีการไหลเวียนของข้อมูลและมาตรฐานตลาดเกษตรอินทรีย์ ที่มีความถูกต้อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด ก้าวสู่ยุคประเทศไทย 4.0 ผู้ออกแบบมีแนวคิดการออกแบบระบบการจัดการอีโลจิสติกส์สำหรับตลาดเกษตรอินทรีย์โดยใช้วิธีการออกแบบแอพลิเคชั่นบนมือถือ เพื่อง่ายต่อการตรวจสอบการไหลเวียนของข้อมูล และตรวจสอบได้ว่ามีมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ที่ได้การรองรับจาก มกท. และเข้าใจถึงกระบวนการจัดการห่วงโซ่อุปทาน
การออกแบบระบบการจัดการสำหรับตลาดเกษตรอินทรีย์ 4.0 มีเป้าหมายเพื่อควบคุมการไหลเวียนของข้อมูล และเพื่อช่วยให้ชาวเกษตรกร สามารถตรวจสอบและส่งผลข้อมูลผลผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ได้ในทุกปี การจัดการห่วงโซ่อุปทานในปัจจุบันเป็นธุรกิจที่มุ้งเน้นในการเพิ่มรายได้ให้กับประเทศไทย ผลการศึกษาพบว่าถ้ามีการจัดการกระบวนการในรูปแบบอีโลจิสติกส์แล้วจะทาให้การบริหารจัดการง่ายขึ้น ทำให้ทราบถึงประเภทและปริมาณผลผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ในแต่ละปี แต่ละภาคส่วนที่มีการเติบโตของสินค้าเกษตรอินทรีย์ นอกจากนี้ยังมีการไหลเวียนของข้อมูลและมาตรฐานตลาดเกษตรอินทรีย์ ที่มีความถูกต้อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด ก้าวสู่ยุคประเทศไทย 4.0 ผู้ออกแบบมีแนวคิดการออกแบบระบบการจัดการอีโลจิสติกส์สำหรับตลาดเกษตรอินทรีย์โดยใช้วิธีการออกแบบแอพลิเคชั่นบนมือถือ เพื่อง่ายต่อการตรวจสอบการไหลเวียนของข้อมูล และตรวจสอบได้ว่ามีมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ที่ได้การรองรับจาก มกท. และเข้าใจถึงกระบวนการจัดการห่วงโซ่อุปทาน
Description
Information Technology Management (Mahidol University 2018)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Engineering
Degree Discipline
Information Technology Management
Degree Grantor(s)
Mahidol University