Media exposure and impact on cigarette smoking behavior among junior high school students under Bangkok Metropolitan Administration, Thailand

dc.contributor.advisorCheerawit Rattanapan
dc.contributor.advisorDoungai Buntup
dc.contributor.advisorJiraporn Chompikul
dc.contributor.authorRenuka Tupwech
dc.date.accessioned2024-01-11T03:12:31Z
dc.date.available2024-01-11T03:12:31Z
dc.date.copyright2017
dc.date.created2017
dc.date.issued2024
dc.descriptionAddiction Studies (Mahidol University 2017)
dc.description.abstractThis research aimed to study the media exposure and the impacts on the smoking behavior of the lower secondary school students under the jurisdiction of Bangkok Metropolitan Administration, Thailand. The sample groups consisted of 500 lower secondary school students selected by the simple random sampling. The questionnaires were used for collecting data. The descriptive statistics consisting of frequency distribution, percentage, and mean were used for data analysis. Chi-square which was the analytical statistic was used for analysis of data relationship. The multiple logistic regression was analyzed for finding the forecast variables. The research results were as follows: 50.8% of the sample groups were male. 69.4% of the sample groups were 12-14 years old. 39.0% of the sample groups smoked. 17.4% of the sample groups currently smoke. 46.9% of male students and 30.9% of female students smoked. 46.2% of the sample groups smoked because they wanted to try smoking. 33.3% of the sample groups smoked because they wanted to relieve stress. 55.9% of the sample groups smoked when they were under stress. Most of students had never tried other drugs. 68.5% of the sample groups used the positive media at a moderate level by most considerably receiving the information on the internet. 62.2% of the sample groups used the negative media at a low level by most considerably receiving the information via the retail outlets. After analyzing the relationship between the variables, the researcher found that the variables impacting on the smoking behavior were gender, grade point average, persons with whom the students lived, spending time to stay with family on weekdays and the weekend, motives, attitudes, perception, positive media exposure, negative media exposure, and the ability to remember the information of the negative media. After analyzing the information on the variables correlating with the smoking behavior by using the multiple logistic regression to control the confounding variables, the researcher found that three variables correlating with the smoking behavior were motives (OR = 2.08, 95% CI =1.26-3.45), attitudes (OR=1.75, 95% CI =1.04-2.93), and perception (OR=2.54, 95% CI =1.57-4.12). The research results indicated that the variables on motives, attitudes, and perception could most considerably forecast the smoking behaviors. Related organizations should reduce the smoking motives and create correct attitudes and perception of smoking by producing the modern and interesting media to prevent the students from smoking.
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ เพื่อศึกษาการเปิดรับสื่อและผลกระทบต่อพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ศึกษาในกลุ่มตัวอย่างนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นจำนวน 500 คน โดยใช้เทคนิคการสุ่มตัวอย่างอย่างง่ายสามขั้นตอน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บ รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และสถิติเชิงวิเคราะห์ ประกอบด้วยไคสแควร์ในการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ของข้อมูล และการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติก (Multiple logistic regresstion) เพื่อหาค่าตัวแปรทำนาย ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย (50.8%) ส่วนใหญ่มีอายุ 12-14 ปี (69.4%) และมีประสบการณ์ในการสูบบุหรี่ถึง 39.0% โดยปัจจุบันยังสูบอยู่ 17.4% ซึ่งนักเรียนชายสูบบุหรี่มากกว่านักเรียน หญิง 46.9% และ 30.9% ตามลำดับ สาเหตุในการสูบบุหรี่เพราะอยากทดลอง 46.2% และคลายเครียด 33.3% โดย โอกาสในการสูบจะสูบเมื่อเครียด 55.9% และพบว่านักเรียนส่วนใหญ่ไม่เคยทดลองเสพยาอื่น ๆ ในเรื่องของการเปิดรับสื่อในทางบวกอยู่ระดับปานกลาง 68.5% โดยเปิดรับผ่านสื่ออินเตอร์เน็ตมากที่สุด และเปิดรับสื่อในทางลบอยู่ระดับต่ำ 62.2% โดยเปิดรับเนื้อหาผ่านร้านค้าปลีกมากที่สุด เมื่อวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรพบว่า ตัวแปรที่ส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมการสูบบุหรี่ ได้แก่ เพศ คะแนนเฉลี่ยสะสม บุคคลที่นักเรียนพักอาศัยอยู่ด้วย การใช้เวลาอยู่ร่วมกับครอบครัวในวันจันทร์ถึงศุกร์และวันหยุดสุดสัปดาห์ แรงจูงใจ ทัศนคติ การรับรู้ การเปิดรับสื่อในทางบวก การเปิดรับสื่อในทางลบ และความสามารถในการจดจำเนื้อหาของสื่อในทางลบ เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการสูบบุหรี่โดยใช้สมการถดถอยโลจิสติกเชิงพหุในการควบคุมตัวแปรกวน พบว่า มีเพียง 3 ตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการสูบบุหรี่ ได้แก่ แรงจูงใจ ( OR=2.08, 95% CI =1.26-3.45) ทัศนคติ (OR=1.75, 95% CI =1.04-2.93) และการรับรู้ ( OR=2.54, 95% CI =1.57-4.12) ผลการศึกษานี้ชี้ให้เห็นว่า ตัวแปรที่สามารถทำนายพฤติกรรมการสูบบุหรี่สูงสุด ได้แก่ แรงจูงใจทัศนคติ และการรับรู้ ดังนั้นควรลดแรงจูงใจในการสูบบุหรี่ รวมทั้งสร้างทัศนคติ และการรับรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับ บุหรี่ โดยผ่านการจัดทำสื่อที่ทันสมัย น่าสนใจ ตลอดจนสอดคล้องกับความต้องการของนักเรียน เพื่อเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันบุหรี่ให้กับนักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
dc.format.extentxi,196 leaves : ill.
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationThesis (M.A. (Addiction Studies))--Mahidol University, 2017
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92325
dc.language.isoeng
dc.publisherMahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderMahidol University
dc.subjectSmoking Behavior
dc.subjectMedia literacy
dc.subjectMass media and children
dc.titleMedia exposure and impact on cigarette smoking behavior among junior high school students under Bangkok Metropolitan Administration, Thailand
dc.title.alternativeการเปิดรับสื่อและผลกระทบต่อพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
dc.typeMaster Thesis
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2559/cd521/5537357.pdf
thesis.degree.departmentASEAN Institute for Health Development
thesis.degree.disciplineAddiction Studies
thesis.degree.grantorMahidol University
thesis.degree.levelMaster's degree
thesis.degree.nameMaster of Arts

Files