The relationship between personality traits and resilience of high school students in Bangkok
Issued Date
2014
Copyright Date
2014
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
vii, 56 leaves.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Clinical Psychology))--Mahidol University, 2014
Suggested Citation
Sakolwan Kulcharas The relationship between personality traits and resilience of high school students in Bangkok. Thesis (M.Sc. (Clinical Psychology))--Mahidol University, 2014. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/95275
Title
The relationship between personality traits and resilience of high school students in Bangkok
Alternative Title(s)
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะนิสัยและความยืดหยุ่นในการเผชิญปัญหาของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตกรุงเทพมหานคร
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
The objective of this research was to study the relationship between personality traits and resilience of high school students in Bangkok. Participants consisted of 350 high school students that studied in secondary school who were under the supervision of the Secondary Education Service area 1 and 2 (Bangkok). The sample was obtained by random sampling method. There were 2 research instruments in this study: the Junior Temperament and Character Inventory (JTCI) and the Modified Resilience Scales. The relationship between 2 factors was analyzed by using Person's product moment coefficient. The result reveals that Reward dependence, Self-directedness and Cooperativeness were significantly correlated with Resilience. Resilience was negatively correlated with Harm Avoidance and Novelty Seeking. These findings show that people who are more optimistic, energetic, quick-tempered, practical, self-confident, responsible and goal-oriented traits will be more resilient when they face the adversity situation. The result in this study can be used as a guideline to promote these traits in children or teenagers to be resilient people.
การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ลักษณะนิสัยและความยืดหยุ่นใน การเผชิญปัญหาของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตกรุงเทพมหานคร โดยกลุ่มตัวอย่างที่เข้า ร่วมในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักเรียนที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในโรงเรียนซึ่งอยู่ ภายใต้การดูแลของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา (สพม.) เขต 1 และเขต 2จำนวน350 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วยแบบสอบถามจำนวน2 ชุดคือแบบสอบถามลักษณะนิสัย The Junior Temperament and Character Inventory (JTCI) และแบบประเมินความยืดหยุ่นในการเผชิญปัญหา (The Modified Resilience Scale) ทำการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของทั้งสองปัจจัยโดยหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน จากผลการศึกษาพบว่า ลักษณะนิสัยด้าน Reward dependence Self-directedness และ Cooperativeness มีความสัมพันธ์กับความยืดหยุ่นในการเผชิญปัญหาอย่างมีนัยสำคัญที่ .01 ลักษณะ นิสัยด้าน Harm avoidance และ Novelty seeking มีความสัมพันธ์ทางลบกับความยืดหยุ่นในการเผชิญปัญหา อย่างมีนัยสำคัญที่ .01 จากการศึกษาวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า บุคคลที่มองโลกในแง่ดีมีความกระตือรือร้นใจร้อน ชอบการลงมือปฏิบัติมีความมั่นใจในตนเอง มีความรับผิดชอบ และทำสิ่งต่าง ๆ โดยยึดมั่นเป้าหมายจะมี ความยืดหยุ่นในการเผชิญปัญหาเมื่อต้องพบเจอกับสถานการณ์ที่ยากลำบาก โดยเมื่อทราบถึงลักษณะนิสัย ที่ทำให้เป็นบุคคลที่มีความยืดหยุ่นในการเผชิญปัญหาแล้ว อาจมีประโยชน์ในการนำไปส่งเสริมพัฒนา เพื่อให้บุคคลสามารถเผชิญกับสถานการณ์เลวร้ายต่าง ๆ ได้ดียิ่งขึ้นต่อไป
การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ลักษณะนิสัยและความยืดหยุ่นใน การเผชิญปัญหาของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตกรุงเทพมหานคร โดยกลุ่มตัวอย่างที่เข้า ร่วมในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักเรียนที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในโรงเรียนซึ่งอยู่ ภายใต้การดูแลของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา (สพม.) เขต 1 และเขต 2จำนวน350 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วยแบบสอบถามจำนวน2 ชุดคือแบบสอบถามลักษณะนิสัย The Junior Temperament and Character Inventory (JTCI) และแบบประเมินความยืดหยุ่นในการเผชิญปัญหา (The Modified Resilience Scale) ทำการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของทั้งสองปัจจัยโดยหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน จากผลการศึกษาพบว่า ลักษณะนิสัยด้าน Reward dependence Self-directedness และ Cooperativeness มีความสัมพันธ์กับความยืดหยุ่นในการเผชิญปัญหาอย่างมีนัยสำคัญที่ .01 ลักษณะ นิสัยด้าน Harm avoidance และ Novelty seeking มีความสัมพันธ์ทางลบกับความยืดหยุ่นในการเผชิญปัญหา อย่างมีนัยสำคัญที่ .01 จากการศึกษาวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า บุคคลที่มองโลกในแง่ดีมีความกระตือรือร้นใจร้อน ชอบการลงมือปฏิบัติมีความมั่นใจในตนเอง มีความรับผิดชอบ และทำสิ่งต่าง ๆ โดยยึดมั่นเป้าหมายจะมี ความยืดหยุ่นในการเผชิญปัญหาเมื่อต้องพบเจอกับสถานการณ์ที่ยากลำบาก โดยเมื่อทราบถึงลักษณะนิสัย ที่ทำให้เป็นบุคคลที่มีความยืดหยุ่นในการเผชิญปัญหาแล้ว อาจมีประโยชน์ในการนำไปส่งเสริมพัฒนา เพื่อให้บุคคลสามารถเผชิญกับสถานการณ์เลวร้ายต่าง ๆ ได้ดียิ่งขึ้นต่อไป
Description
Clinical Psychology (Mahidol University 2014)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Medicine Siriraj Hospital
Degree Discipline
Clinical Psychology
Degree Grantor(s)
Mahidol University