วิถีแห่งรักในคริสต์ศาสนา : ผลกระทบของดนตรีเพื่อการเยียวยาสังคม
Issued Date
2556
Copyright Date
2556
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ก-ฑ, 152 แผ่น : ภาพประกอบสี
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ศาสนาเปรียบเทียบ))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2556
Suggested Citation
เมธาดา ดามาพงษ์ วิถีแห่งรักในคริสต์ศาสนา : ผลกระทบของดนตรีเพื่อการเยียวยาสังคม. วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ศาสนาเปรียบเทียบ))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2556. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/93574
Title
วิถีแห่งรักในคริสต์ศาสนา : ผลกระทบของดนตรีเพื่อการเยียวยาสังคม
Alternative Title(s)
The way of love in christianity : the impact of the art of music for healing society
Author(s)
Abstract
การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ประการได้แก่ 1. ศึกษาคาสอนเรื่องความรักในคริสต์ศาสนา ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับภาวะทางจิตใจและความประพฤติ 2. ศึกษาผลกระทบของวิถีแห่งรักในคริสต์ศาสนาผ่านสื่อทางดนตรีเพื่อการเยียวยาสังคม เป็นการวิจัยเอกสารโดยศึกษาจากพระคัมภีร์ไบเบิล วิทยานิพนธ์ วรรณกรรม ตารา สื่อวีดีทัศน์ สื่อสิ่งตีพิมพ์ต่างๆที่เกี่ยวข้อง และการวิจัยภาคสนามโดยการออกแบบสอบถามเพื่อสอบถามผู้ที่ฟังบทเพลงไทยสากลร่วมสมัย ที่ผู้ประพันธ์แต่งขึ้นโดยอาศัยหลักความรักในคริสต์ศาสนา ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ผลการศึกษาพบว่าคาสอนเรื่องความรักในคริสต์ศาสนา ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับภาวะทางจิตใจและความประพฤตินั้นหมายถึง 1) การเชื่อในความรักที่พระเจ้าทรงรักมนุษย์อย่างไม่มีเงื่อนไข ไม่มีขอบเขต ไม่มีประมาณ เป็นความรักที่เปิดกว้างไปสู่มวลมนุษย์ เป็นความรักที่ก้าวพ้นความแตกต่างทุกรูปแบบ เป็นคุณสมบัติหนึ่งที่บ่งบอกถึงการที่มนุษย์ถูกสร้างในพระฉายาลักษณ์ของพระเจ้า เป็นความรักที่ให้ความเท่าเทียมกันในความเป็นมนุษย์ ไม่ว่ามนุษย์ผู้นั้นจะดารงอยู่ในเพศใดหรือสถานะใด อกาเป้เป็นความรักที่แสดงออกตรงกับความต้องการพื้นฐานของความเป็นมนุษย์ และเมื่อมนุษย์ได้สัมผัสกับความรักของพระเจ้า มนุษย์จึงเรียนรู้ที่จะแบ่งปันและส่งต่อความรักนั้นให้แก่กัน 2) การถ่ายทอดหลักคาสอนเรื่องความรักในคริสต์ศาสนาโดยผ่านสื่อทางดนตรี สามารถเยียวยาจิตวิญญาณของมนุษย์และเยียวยาปัญหาเรื่องความรักในสังคมไทยปัจจุบันได้โดยการที่ผู้รับฟังได้สัมผัสกับดนตรีที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับความรักที่กลั่นกรองมาเป็นบทเพลงไทยสากลร่วมสมัยในเชิงสร้างสรรค์ และรับรู้ถึงการถ่ายทอดประสบการณ์ความรักของนักประพันธ์ผ่านสื่อทางดนตรี มีกาลังใจในดาเนินชีวิต และทาให้คริสต์ศาสนิกชนตระหนักถึงคุณค่า ความสาคัญและความจาเป็นของศิลปะทางดนตรี ในแง่มุมของการเป็นเครื่องมือสื่อสารที่ทรงพลัง ในการที่จะเป็นตัวเชื่อมระหว่างหลักคาสอนอันเป็นหัวใจของคริสต์ศาสนา ในเรื่องของความรักกับจิตวิญญาณทางธรรมชาติของมนุษย์ และในมิติของดนตรีที่เป็นสื่อกลางอันศักดิ์สิทธ์และทรงคุณค่า เพื่อช่วยยกระดับและจรรโลงจิตใจของผู้ฟังให้เต็มเปี่ยมไปด้วยความรักและเมตตาทั้งต่อตนเองและส่งผ่านไปยังผู้อื่น ข้อเสนอแนะจากการวิจัย คือ 1) ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ควรศึกษาถึงผลกระทบของดนตรีเพื่อการเยียวยาสังคมในระดับชุมชนและสังคมที่เป็นมหภาค โดยการนาเอาข้อคาสอนเรื่องความรักมาปฏิบัติใช้ในการสร้างสรรค์เพลง ควรจัด ให้มีโครงการอบรมผู้ประพันธ์เพลง ผู้บรรเลงบทเพลงในพิธีกรรม และการปลูกฝังจิตสานึกของนักร้องและนักบรรเลง โดยจัดให้มีความร่วมมือกันระหว่างองค์กรต่างๆทางศาสนาจักรกับองกรค์ท้องถิ่น 2) ข้อเสนอแนะเชิงวิจัย ควรมีการศึกษาทัศนคติเกี่ยวกับความรักในคริสต์ศาสนาของกลุ่มตัวอย่างในช่วงอายุที่แตกต่างออกไปและควรจะขยายกลุ่มตัวอย่างให้ครอบคลุมมากขึ้น เช่นการ เปรียบเทียบทัศนคติความคิดเห็นเกี่ยวความรักกับศาสนิกในศาสนาอื่นๆ เพื่อสารวจความคิดเห็นและทัศนคติเกี่ยวกับความรักของ แต่ละศาสนิกในแต่ละศาสนา
The objectives of this research are 1) to study the doctrine of love in Christianity in relation to the mind state and behavior of Christians 2) to study the impact of healing with Christian music. The research methodology consists of a combination of documentary research from the Bible, thesis documents, literature, books, media, publications and training research. The research instrument included questionnaire and observation of audiences, selected from a cross section of subjects living in Bangkok and the perimeter, of Contemporary Thai pop song selections composed with love of Christianity as a basis. The result shows that the doctrine of love in Christianity in relation to the mind state and behavior of Christians means 1) to have faith in God's love for all of mankind. It is an unconditional love that has no boundaries and no limits. God's love transcends all of humanity's differences, which is a testament of the fact that God created mankind in his own image. His love proves equality in humanity, irrespective to gender or status. Agape is explained as love which is expressed in correspondence with the basic needs of humanity, and when humans are able to sense God's love, they learn to share and pass this love on to one another 2) when the Christian doctrine of love is propagated through music (in this instance, contemporary Thai songs), it is found to have a healing effect on minds and the society at large. This type of music is therefore perceived and treasured by Christians as a sacred and healing medium, a powerful tool to help convey the core of God's teachings, which in turn uplifts the human spirit and promotes the feeling of unity as well as love for oneself and fellow humans. These are the researcher's suggestions 1) Policy makers should study the impact music has as a tool for healing at the community level as well as at the macro level. There should be projects that help train song writers as well as performers to apply the doctrine of love into song writing and performance. This can be done by fostering cooperation between local councils and church organizations. 2) Researchers should expand the study of love in Christianity to a wider group of subjects, for example, more variety in terms of age group, as well as in terms of religious beliefs.
The objectives of this research are 1) to study the doctrine of love in Christianity in relation to the mind state and behavior of Christians 2) to study the impact of healing with Christian music. The research methodology consists of a combination of documentary research from the Bible, thesis documents, literature, books, media, publications and training research. The research instrument included questionnaire and observation of audiences, selected from a cross section of subjects living in Bangkok and the perimeter, of Contemporary Thai pop song selections composed with love of Christianity as a basis. The result shows that the doctrine of love in Christianity in relation to the mind state and behavior of Christians means 1) to have faith in God's love for all of mankind. It is an unconditional love that has no boundaries and no limits. God's love transcends all of humanity's differences, which is a testament of the fact that God created mankind in his own image. His love proves equality in humanity, irrespective to gender or status. Agape is explained as love which is expressed in correspondence with the basic needs of humanity, and when humans are able to sense God's love, they learn to share and pass this love on to one another 2) when the Christian doctrine of love is propagated through music (in this instance, contemporary Thai songs), it is found to have a healing effect on minds and the society at large. This type of music is therefore perceived and treasured by Christians as a sacred and healing medium, a powerful tool to help convey the core of God's teachings, which in turn uplifts the human spirit and promotes the feeling of unity as well as love for oneself and fellow humans. These are the researcher's suggestions 1) Policy makers should study the impact music has as a tool for healing at the community level as well as at the macro level. There should be projects that help train song writers as well as performers to apply the doctrine of love into song writing and performance. This can be done by fostering cooperation between local councils and church organizations. 2) Researchers should expand the study of love in Christianity to a wider group of subjects, for example, more variety in terms of age group, as well as in terms of religious beliefs.
Description
ศาสนาเปรียบเทียบ (มหาวิทยาลัยมหิดล 2556)
Degree Name
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
Degree Discipline
ศาสนาเปรียบเทียบ
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล