Cancer risk of 1,3-butadiene exposure to various receptors living near heavy traffic area in Bangkok, Thailand
Issued Date
2024
Copyright Date
2018
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xii, 96 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Technology of Environmental Management))--Mahidol University, 2018
Suggested Citation
Sureeporn Lorussachan Cancer risk of 1,3-butadiene exposure to various receptors living near heavy traffic area in Bangkok, Thailand. Thesis (M.Sc. (Technology of Environmental Management))--Mahidol University, 2018. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91778
Title
Cancer risk of 1,3-butadiene exposure to various receptors living near heavy traffic area in Bangkok, Thailand
Alternative Title(s)
ความเสี่ยงการเกิดมะเร็งจากการรับสัมผัสสาร 1,3-butadiene ของผู้ประกอบกิจกรรมต่าง ๆ ในบริเวณที่มีการจราจรหนาแน่น ในเขตกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
Author(s)
Abstract
This study aims to estimate cancer risk of 1,3 - Butadiene exposure to receptors living or having activities in or near heavy traffic areas in Bangkok. Ambient air samples were actively collected at Ko Phaya Thai next to the Victory Monument area on an hourly basis for 15 consecutive hours on Sunday (weekend) and Monday (weekday) from 22 January to 20 February 2017. The number of vehicles was simultaneously monitored for investigation of its relationship with atmospheric 1,3-butadiene concentration. In addition, separated air samples were continuously collected for 24 hours at the same time, for estimation of cancer risks. The collected samples were analyzed by GC-MS. The hourly concentrations of 1,3 - butadiene were in ranges of 0.17 - 3.33 μg/m3 on weekends and 0.11 - 2.01 μg/m3 on weekdays. The vehicles were classified into 7 types, the passenger cars and Taxi cars were the biggest portions on weekends, motorcycles and passenger cars were the most numbered on weekdays. During daytime both on weekends and weekdays, the variations of 1,3-butadiene and number of vehicles tended to have a relationship whereas during nighttime they seemed to have weak relationship. This implied that there were other sources besides traffic. On weekdays the concentrations of average hourly 1,3-butadiene in the night-time were greater than that of the day time. This finding confirms previous arguments that rapid destruction of 1,3-butadiene during the daytime was stimulated by photoinitiated reaction. Estimated cancer risk using inhalation unit risk of 3 x 10-5 per μg m-3 and was found that adult people who have been working near this roadside for 8 to 12 hour per day during Monday to Friday and Monday to Saturday for 54 years will experience the lifetime cancer risk of 6.4 - 9.7 and 6.8 - 10.4 times higher than the USEPA benchmark of one in a million. Adult vendors working for 3 - 12 hours per day for 5 weekdays for 54 years will have lifetime cancer risk of 2.4x10-6 - 9.7x10-6. Bus passengers aged 3-21 years who spend 1 to 2 hours per day waiting for a bus will get lifetime cancer risks of 0.73x10-6 to 1.4x10-6, and for residents, lifetime risks was 0.58x10-6 - 1.2x10-6. The results show that the model was under estimated as compared to actual measurement.
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความเสี่ยงการเกิดมะเร็งจากการรับสัมผัสสาร 1,3 - บิวทาไดอีนของผู้ที่อยู่ในบริเวณที่มีการจราจรหนาแน่นในเขตกรุงเทพมหานคร โดยทำการเก็บตัวอย่างอากาศในบริเวณเกาะพญาไทอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิรายชั่วโมงเป็นเวลา 15 ชั่วโมงติดต่อกันในวันอาทิตย์และวันจันทร์ตั้งแต่วันที่ 22 มกราคมถึงวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560 และนับจำนวนยานพาหนะไปพร้อมกัน และทำการเก็บตัวอย่างอากาศต่อเนื่องเป็นเวลา 24 ชั่วโมงเพื่อ ใช้ประเมินความเสี่ยงการเกิดมะเร็ง วิเคราะห์ตัวอย่างทั้งหมดด้วยเครื่อง GC-MS ผลการศึกษาพบว่า ความเข้มข้นของ 1,3 -บิวทาไดอีนในวันหยุดอยู่ในช่วง 0.17 - 3.33 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตรและในวันทำงานอยู่ในช่วง 0.11 - 2.01 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ทำการนับจำนวนรถโดยแบ่งรถออกเป็น 7 ประเภท พบรถโดยสารและรถแท็กซี่มีจำนวนมากที่สุดในช่วงวันหยุด รถจักรยานยนต์และรถยนต์มีจำนวนมากที่สุดในวันทำงาน ช่วงกลางวันของวันทำงานและวันหยุด ความเข้มข้นของ 1,3-บิวทาไดอีนและจำนวนยานพาหนะมีความสัมพันธ์ทางสถิติ ในขณะที่ช่วงกลางคืนมีความสัมพันธ์ทางสถิติที่น้อยกว่า แสดงให้เห็นว่ามีแหล่งกำเนิดอื่นนอกเหนือจากการจราจร ในวันทำงาน ความเข้มข้นรายชั่วโมงของสาร 1,3 - บิวทาไดอีนในเวลากลางคืนสูงกว่าในเวลากลางวันเป็นการยืนยันว่าในช่วงเวลากลางวัน1,3-บิวทาไดอีนสลายไปโดยทำปฏิกิริยา photoinitiated ในการศึกษาครั้งนี้ ใช้ค่า Inhalation Unit Risk (IUR) คือ 3 x 10-5 ต่อ μg m-3 ในการประเมินความเสี่ยงการเกิดมะเร็ง โดยพบวา่ ผู้ใหญ่ที่ทำงานบริเวณริมถนนเป็นเวลา 8 - 12 ชั่วโมงต่อวันในช่วงวันจันทร์ถึง วันศุกร์และวันจันทร์ถึงวันเสาร์เป็นเวลา 54 ปี มีความเสี่ยงการเกิดโรคมะเร็งตลอดชีวติ 6.4 - 9.7 และ 6.8 - 10.4 เท่าซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานของ U.S.EPA. ที่ระกับหนึ่งในล้านคน ผู้ค้าขายทำงาน 3 - 12 ชั่วโมงต่อวันเป็นเวลา 5 วันทำงานเป็นเวลา 54 ปี จะมีความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็งตลอดชีวิต อยู่ที่ 2.4x10-6 - 9.7x10-6 ผู้โดยสารรถประจำทางที่ใช้เวลา 1 ถึง 2 ชั่วโมงต่อวันในการรอประจำทาง อายุ 3-21 ปี จะมีความเสี่ยงในการเป็นมะเร็งตลอดอายุการทำงานตั้งแต่ 0.73x10-6 ถึง 1.4x10-6 และสำหรับผู้ที่อาศัยอยู่ในบริเวณศึกษา มีความเสี่ยงการเกิดโรคมะเร็งตลอดชีวิตคือ 0.58x10-6-1.2x10-6 จาก การศึกษาครั้งนี้ชี้ให้เห็นความเข้มข้นของสาร 1,3-บิวทาไดอีนที่ได้จากการทำนายด้วยแบบจำลอง AERMOD มีค่าต่ำกว่าค่าที่ตรวจวัดจริง
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความเสี่ยงการเกิดมะเร็งจากการรับสัมผัสสาร 1,3 - บิวทาไดอีนของผู้ที่อยู่ในบริเวณที่มีการจราจรหนาแน่นในเขตกรุงเทพมหานคร โดยทำการเก็บตัวอย่างอากาศในบริเวณเกาะพญาไทอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิรายชั่วโมงเป็นเวลา 15 ชั่วโมงติดต่อกันในวันอาทิตย์และวันจันทร์ตั้งแต่วันที่ 22 มกราคมถึงวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560 และนับจำนวนยานพาหนะไปพร้อมกัน และทำการเก็บตัวอย่างอากาศต่อเนื่องเป็นเวลา 24 ชั่วโมงเพื่อ ใช้ประเมินความเสี่ยงการเกิดมะเร็ง วิเคราะห์ตัวอย่างทั้งหมดด้วยเครื่อง GC-MS ผลการศึกษาพบว่า ความเข้มข้นของ 1,3 -บิวทาไดอีนในวันหยุดอยู่ในช่วง 0.17 - 3.33 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตรและในวันทำงานอยู่ในช่วง 0.11 - 2.01 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ทำการนับจำนวนรถโดยแบ่งรถออกเป็น 7 ประเภท พบรถโดยสารและรถแท็กซี่มีจำนวนมากที่สุดในช่วงวันหยุด รถจักรยานยนต์และรถยนต์มีจำนวนมากที่สุดในวันทำงาน ช่วงกลางวันของวันทำงานและวันหยุด ความเข้มข้นของ 1,3-บิวทาไดอีนและจำนวนยานพาหนะมีความสัมพันธ์ทางสถิติ ในขณะที่ช่วงกลางคืนมีความสัมพันธ์ทางสถิติที่น้อยกว่า แสดงให้เห็นว่ามีแหล่งกำเนิดอื่นนอกเหนือจากการจราจร ในวันทำงาน ความเข้มข้นรายชั่วโมงของสาร 1,3 - บิวทาไดอีนในเวลากลางคืนสูงกว่าในเวลากลางวันเป็นการยืนยันว่าในช่วงเวลากลางวัน1,3-บิวทาไดอีนสลายไปโดยทำปฏิกิริยา photoinitiated ในการศึกษาครั้งนี้ ใช้ค่า Inhalation Unit Risk (IUR) คือ 3 x 10-5 ต่อ μg m-3 ในการประเมินความเสี่ยงการเกิดมะเร็ง โดยพบวา่ ผู้ใหญ่ที่ทำงานบริเวณริมถนนเป็นเวลา 8 - 12 ชั่วโมงต่อวันในช่วงวันจันทร์ถึง วันศุกร์และวันจันทร์ถึงวันเสาร์เป็นเวลา 54 ปี มีความเสี่ยงการเกิดโรคมะเร็งตลอดชีวติ 6.4 - 9.7 และ 6.8 - 10.4 เท่าซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานของ U.S.EPA. ที่ระกับหนึ่งในล้านคน ผู้ค้าขายทำงาน 3 - 12 ชั่วโมงต่อวันเป็นเวลา 5 วันทำงานเป็นเวลา 54 ปี จะมีความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็งตลอดชีวิต อยู่ที่ 2.4x10-6 - 9.7x10-6 ผู้โดยสารรถประจำทางที่ใช้เวลา 1 ถึง 2 ชั่วโมงต่อวันในการรอประจำทาง อายุ 3-21 ปี จะมีความเสี่ยงในการเป็นมะเร็งตลอดอายุการทำงานตั้งแต่ 0.73x10-6 ถึง 1.4x10-6 และสำหรับผู้ที่อาศัยอยู่ในบริเวณศึกษา มีความเสี่ยงการเกิดโรคมะเร็งตลอดชีวิตคือ 0.58x10-6-1.2x10-6 จาก การศึกษาครั้งนี้ชี้ให้เห็นความเข้มข้นของสาร 1,3-บิวทาไดอีนที่ได้จากการทำนายด้วยแบบจำลอง AERMOD มีค่าต่ำกว่าค่าที่ตรวจวัดจริง
Description
Technology of Environmental Management (Mahidol University 2018)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Environment and Resource Studies
Degree Discipline
Technology of Environmental Management
Degree Grantor(s)
Mahidol University