Injury and musculoskeletal problem reduction of roller cleaning workers : a case study of a hygienic plastic film manufactuer

dc.contributor.advisorPramuk Osiri
dc.contributor.advisorSomporn Kantharadussadee Triamchaisri
dc.contributor.advisorDusit Sujirarat
dc.contributor.authorPunnatut Wongsasan
dc.date.accessioned2024-01-25T04:06:56Z
dc.date.available2024-01-25T04:06:56Z
dc.date.copyright2015
dc.date.created2024
dc.date.issued2015
dc.descriptionOccupational Health and Safety (Mahidol University 2015)
dc.description.abstractThe improper working conditions for cleaning a hot roller machine of 100 - 140 degrees Celsius, 400-600 rpm, using 99% methanol in a kneeling posture (#1), squatting posture (# 2) and then bent over close to the platform to clean the rollers. 100% of the workers experienced knee pain, 85.71% had wrist pain, 75% of their hands slipped on the roller machine, and 62.5% suffered from methanol exposure. Therefore, to prevent occupational hazards among workers, therefore, this study aimed to (1) study muscular problems and injury risks, (2) study elapsed cleaning time and the volumes of methanol used, and (3) to compare muscular problems and injuries, elapsed cleaning time, and methanol volume used before and after installing a cleaning machine. This was quasi-experimental design.There were eight male workers, aged 22-28 years old. Repeated REBA measurements were applied for posture #1, 96 times, for posture #2, 96 times, and (posture #3) after installing the cleaning tool, 96 times including abnormal index questionnaire, risk assessment pre- and post- instalment a new roller cleaning press, respectively. Before using a new roller cleaning tool, the REBA scores of posture #1 and #2 among workers were at high levels. After using a new tool, the scores for posture #3 were significantly reduced to a medium score level significantly (p < 0.05). For abnormal index, pre-instalment of the hot roller cleaning tool, the lowest, highest, and average score were 3.30, 3.50 and 3.30, respectively. For post- instalment of the hot roller cleaning tool, the lowest, highest and, average score of abnormal index were 1.00 ,2.00 and, 1.55, respectively. Elapsed cleaning time and methanol volumes were higher than pre-instalment the cleaning tool. The injury risk level before and after the experiment for hand being caught in the machine, pain knee pain, burns, and exposure to methanol were reduced. A roller cleaning tool would efficiently reduce muscular problems and injury risk, even it took a longer time and higher methanol volume to clean the hot roller.
dc.description.abstractเนื่องด้วยคนงานต้องเข้าไปทำความสะอาดลูกกลิ้งซึ่งมีอุณหภูมิที่หน้าสัมผัสของลูกกลิ้งสูงถึง 100 -140 องศาเซลเซียส หมุนด้วยความเร็ว 400 - 600 รอบต่อนาที ด้วยท่าทางที่ยากลำบาก คือ ท่านั่งคุกเข่า (ท่าที่ 1) และท่านั่งพับเพียบ (ท่าที่ 2) แล้วก้มตัวลงเช็ดทำความสะอาดลูกกลิ้งร้อนด้วยผ้าดิบที่ชุบเมทานอลที่มีความเข้มข้นถึง 99% ซึ่งบิดให้หมาด และไถลตัวไปเรื่อย ๆ บนพื้นทางเดินของเครื่องจักร พบว่าพนักงาน 100% เคยมีอาการเจ็บเข่า 85.71% เคยมีอาการเจ็บที่ข้อมือ 75% มือเคยลื่นไถลไปตามแนวการหมุนของลูกกลิ้ง 62.5% เคยสัมผัสกับเมทานอลโดยตรง เพื่อเป็นการ ป้องกันอุบัติเหตุของคนงาน ดังนั้น การศึกษานี้จึงได้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาความเสี่ยงของปัญหาของกล้ามเนื้อและความเสี่ยงจากการบาดเจ็บ (2) เพื่อศึกษาเวลาที่ใช้ในการทำความสะอาด ปริมาณเมทานอลที่ใช้ (3) เพื่อเปรียบเทียบความเสี่ยงของปัญหาการบาดเจ็บ ปัญหาทางด้านกล้ามเนื้อ เวลาที่ใช้ในการทำความสะอาด และปริมาณเมทานอลที่ใช้ ก่อนและหลัง การติดตั้งเครื่องทำความสะอาดลูกกลิ้งร้อน ออกแบบการศึกษาแบบกึ่งการทดลอง คนงานชายจำนวน 8 คน อายุ ระหว่าง 22 - 28 ปี โดยการวัดซ้ำ ๆ ด้วย REBA สำหรับท่าที่ 1 จำนวน 96 ครั้ง, ท่าที่ 2 จำนวน 96 ครั้ง และท่าที่ 3 (หลังการติดตั้งเครื่องทำความสะอาดลูกกลิ้ง) จำนวน 96 ครั้ง รวมทั้งมีการประเมินดัชนีความผิดปกติ และการประเมินความเสี่ยงก่อนและหลังการติดตั้งเครื่องทำความสะอาดลูกกลิ้ง ก่อนการติดตั้งเครื่องทำความสะอาดลูกกลิ้งร้อน พบว่าคะแนน REBA ของท่าที่ 1 และท่าที่ 2 มีความเสี่ยงสูงมาก หลังการติดตั้ง พบว่าความเสี่ยงของท่าที่ 3 ลดลงเป็นระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญ (p< 0.05). สำหรับดัชนีความผิดปกติ ก่อนการติดตั้งมีค่าต่ำสุด สูงสุด และค่าเฉลี่ย ดังนี้ 3.30 3.50 และ 3.30 ตามลำดับ ซึ่งอยู่ในระดับทนไม่ได้ หลังการติดตั้งมีค่าต่ำสุด สูงสุด และค่าเฉลี่ย ดังนี้ 1.00 2.00 และ 1.55 ตามลำดับ ซึ่งอยู่ในระดับ ปัญหาเล็กน้อยพอทนได้ เวลาและปริมาณเมทานอลที่ใช้ในการทำความสะอาดมีค่าเพิ่มมากขึ้น ความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บจากการถูกหนีบ เจ็บเข่า สัมผัส กับลูกกลิ้งร้อน ผิวหนังสัมผัสกับเมทานอล และเมทานอลกระเด็นเข้าตา หลังจากติดตั้งลดลงทุกกรณี เครื่องทำความสะอาดลูกกลิ้งสามารถลดปัญหาทางด้านกล้ามเนื้อและการบาดเจ็บ ได้เป็นอย่างดี ถึงแม้ว่าจะใช้เวลาปริมาณเมทานอลในการทำความสะอาดเพิ่มมากขึ้นก็ตาม
dc.format.extentx, 109 leaves : col. ill.
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationThesis (M.Sc. (Occupational Health and Safety))--Mahidol University, 2015
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/94051
dc.language.isoeng
dc.publisherMahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderMahidol University
dc.subjectHealth risk assessment
dc.subjectIndustrial hygiene -- Thailand
dc.titleInjury and musculoskeletal problem reduction of roller cleaning workers : a case study of a hygienic plastic film manufactuer
dc.title.alternativeการลดการบาดเจ็บและปัญหาทางกล้ามเนื้อและกระดูกในคนงานทำความสะอาดลูกกลิ้ง : กรณีศึกษาโรงงานผลิตแผ่นพลาสติกปลอดเชื้อ
dc.typeMaster Thesis
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2557/cd498/5536391.pdf
thesis.degree.departmentFaculty of Public Health
thesis.degree.disciplineOccupational Health and Safety
thesis.degree.grantorMahidol University
thesis.degree.levelMaster's degree
thesis.degree.nameMaster of Science

Files