A study of Hakka aspectual system
Issued Date
2023
Copyright Date
2012
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xiv, 209 leaves : col. ill.
Access Rights
restricted access
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D. (Linguistics))--Mahidol University, 2012
Suggested Citation
Wichaya Bovonwiwat A study of Hakka aspectual system. Thesis (Ph.D. (Linguistics))--Mahidol University, 2012. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89463
Title
A study of Hakka aspectual system
Alternative Title(s)
การศึกษาระบบการณ์ลักษณะภาษาจีนแคะ
Author(s)
Abstract
This research aims to describe the aspectual system of Fengshun Hakka dialect spoken in Thailand. The Hakka aspectual system can be divided into two major categories: Bounded aspect and Unbounded aspect. The Bounded aspect refers to an event defined with either a beginning or an endpoint. The Unbounded aspect refers to a situation without a time limit or an ongoing event. The Bounded aspect is comprised of Perfective, Experiential, Inchoative, Delimitative, and Tentative. The Perfective aspect can be indicated by liau42 "finish/already", resultative verb complement (RVC), and jiu33 " have." The Experiential aspect contains two markers: kuɔ42 "pass" and sit11 "know." The Inchoative is shown when an adjective or a state verb is followed by liau42 "finish/already." The Delimitative aspect is presented by jit11 ha11 "one time" and verb reduplication. The Tentative aspect is expressed by khɔn42 "look/watch/see." The Unbounded aspect contains two subcategories, Progressive and Iterative. The Progressive aspect is marked by ʨhɔi33 kai11 "be there" or ʨhɔi33 li11 "be here" and kap11 pan11 "fit/suitable." The Iterative aspect is indicated by the reduplication of a motion verb plus two directional verbs: lɔi24 "come" and khɯ42 "go." To add a more interesting view on this study, the Miaoli Hakka dialect spoken in Taiwan is compared to the Fengshun dialect. This helps clarify the overall characteristics of the Hakka aspectual system. The analysis of the aspectual system of Fengshun Hakka spoken in Thailand provides an overview of the semantic and syntactic functions of aspect markers. The comparison with the Miaoli Hakka dialect spoken in Taiwan helps explain how the aspectual system of the two different Hakka dialects is expressed. The language contact between Fengshun Hakka and Chaozhou is one factor that distinguishes the aspectual system of Fengshun Hakka from that of Miaoli Hakka
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายระบบการณ์ลักษณะของภาษาจีนแคะถิ่นเฟิงซุนที่พูดใน ประเทศไทย ระบบการณ์ลักษณะภาษาจีนแคะสามารถแบ่งออกเป็นสองกลุ่มใหญ่ ๆ คือ Bounded และ Unbounded กลุ่ม Bounded หมายถึงการณ์ลักษณะที่ระบุจุดเริ่มต้นหรือจุดสิ้นสุดของเหตุการณ์ กลุ่ม Unbounded หมายถึงเหตุการณ์ที่ไม่มีการระบุถึงขอบเขตเวลาหรือพูดถึงเหตุการณ์ที่ดําเนินอยู่ ในกลุ่ม Bounded ประกอบไปด้วย Perfective, Experiential, Inchoative, Delimitative, และ Tentative คําระบุการณ์ลักษณะ Perfective ได้แก่ liau[superscript]42 "เสร็จ/แล้ว" Resultative Verb Complement (RVC) และ jiu[superscript]33 "มี" คําระบุการณ์ลักษณะ Experiential ได้แก่ kuɔ[superscript]42 "ผ่าน" และ sit[superscript]11 "รู้" การณ์ลักษณะ Inchoative แสดงได้โดยเมื่อคําคุณศัพท์หรือคํากริยาแสดงสภาพตามหลังด้วย liau[superscript]42 "เสร็จ/แล้ว" การณ์ ลักษณะ Delimitative แสดงโดย jit[superscript]11 ha[superscript]11 "หนึ่งครั้ง" และการซํ้าคํากริยา การณ์ลักษณะ Tentative แสดง โดยคําว่า khɔn[superscript]42 "มอง/ดู/เห็น" ในกลุ่ม Unbounded ประกอบด้วยสองกลุ่มย่อยคือ Progressive และ Iterative การณ์ลักษณะ Progressive แสดงได้โดยคําว่า ʨhɔi[superscript]33 kai[superscript]11 "อยูที่นั่น" หรือ ʨhɔi[superscript]33 li[superscript]11 "อยูที่นี่่" และ kap[superscript]11 pan[superscript]11 "พอดี/เหมาะสม" การณ์ลักษณะ Iterative แสดงโดยการซํ้าคํากริยาแสดงการเคลื่อนที่ร่วมกับคํากริยา lɔi[superscript]24 "มา" และ khɯ[superscript]42 "ไป." เพื่อเพิ่มความน่าสนใจให้กบการศึกษาในครั้งนี้จึงนําข้อมูลภาษาจีนแคะถิ่นเหมียวลี่ซึ่งพูดใน ประเทศไต้หวันมาเปรียบเทียบกบภาษาจีนแคะถิ่นเฟิงซุน เพื่อช่วยอธิบายลักษณะโดยรวมของระบบการณ์ ลักษณะภาษาจีนแคะให้ชัดเจนยิ่งขึ้น การวิเคราะห์ระบบการณ์ลักษณะภาษาจีนแคะถิ่นเฟิงซุนซึ่งพูดในประเทศไทยนี้ ทําให้เห็น ภาพรวมของหน้าที่ทางความหมายและไวยากรณ์ของคําระบุการณ์ลักษณะ การนําภาษาจีนแคะถิ่นเหมียวลี่ ที่พูดในประเทศไต้หวันมาเปรียบเทียบนั้นจะช่วยอธิบายวาระบบการณ์ลักษณะของภาษาจีนแคะทั้งสองถิ่นแตกต่างกนอย่างไร นอกจากนี้ การสัมผัสภาษาระหวางภาษาจีนแต้จิ๋วและภาษาจีนแคะถิ่นเฟิงซุนน่าจะ เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทําให้ระบบการณ์ลักษณะภาษาจีนแคะถิ่นเฟิงซุนแตกต่างจากระบบการณ์ลักษณะของ ภาษาจีนแคะถิ่นเหมียวลี่
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายระบบการณ์ลักษณะของภาษาจีนแคะถิ่นเฟิงซุนที่พูดใน ประเทศไทย ระบบการณ์ลักษณะภาษาจีนแคะสามารถแบ่งออกเป็นสองกลุ่มใหญ่ ๆ คือ Bounded และ Unbounded กลุ่ม Bounded หมายถึงการณ์ลักษณะที่ระบุจุดเริ่มต้นหรือจุดสิ้นสุดของเหตุการณ์ กลุ่ม Unbounded หมายถึงเหตุการณ์ที่ไม่มีการระบุถึงขอบเขตเวลาหรือพูดถึงเหตุการณ์ที่ดําเนินอยู่ ในกลุ่ม Bounded ประกอบไปด้วย Perfective, Experiential, Inchoative, Delimitative, และ Tentative คําระบุการณ์ลักษณะ Perfective ได้แก่ liau[superscript]42 "เสร็จ/แล้ว" Resultative Verb Complement (RVC) และ jiu[superscript]33 "มี" คําระบุการณ์ลักษณะ Experiential ได้แก่ kuɔ[superscript]42 "ผ่าน" และ sit[superscript]11 "รู้" การณ์ลักษณะ Inchoative แสดงได้โดยเมื่อคําคุณศัพท์หรือคํากริยาแสดงสภาพตามหลังด้วย liau[superscript]42 "เสร็จ/แล้ว" การณ์ ลักษณะ Delimitative แสดงโดย jit[superscript]11 ha[superscript]11 "หนึ่งครั้ง" และการซํ้าคํากริยา การณ์ลักษณะ Tentative แสดง โดยคําว่า khɔn[superscript]42 "มอง/ดู/เห็น" ในกลุ่ม Unbounded ประกอบด้วยสองกลุ่มย่อยคือ Progressive และ Iterative การณ์ลักษณะ Progressive แสดงได้โดยคําว่า ʨhɔi[superscript]33 kai[superscript]11 "อยูที่นั่น" หรือ ʨhɔi[superscript]33 li[superscript]11 "อยูที่นี่่" และ kap[superscript]11 pan[superscript]11 "พอดี/เหมาะสม" การณ์ลักษณะ Iterative แสดงโดยการซํ้าคํากริยาแสดงการเคลื่อนที่ร่วมกับคํากริยา lɔi[superscript]24 "มา" และ khɯ[superscript]42 "ไป." เพื่อเพิ่มความน่าสนใจให้กบการศึกษาในครั้งนี้จึงนําข้อมูลภาษาจีนแคะถิ่นเหมียวลี่ซึ่งพูดใน ประเทศไต้หวันมาเปรียบเทียบกบภาษาจีนแคะถิ่นเฟิงซุน เพื่อช่วยอธิบายลักษณะโดยรวมของระบบการณ์ ลักษณะภาษาจีนแคะให้ชัดเจนยิ่งขึ้น การวิเคราะห์ระบบการณ์ลักษณะภาษาจีนแคะถิ่นเฟิงซุนซึ่งพูดในประเทศไทยนี้ ทําให้เห็น ภาพรวมของหน้าที่ทางความหมายและไวยากรณ์ของคําระบุการณ์ลักษณะ การนําภาษาจีนแคะถิ่นเหมียวลี่ ที่พูดในประเทศไต้หวันมาเปรียบเทียบนั้นจะช่วยอธิบายวาระบบการณ์ลักษณะของภาษาจีนแคะทั้งสองถิ่นแตกต่างกนอย่างไร นอกจากนี้ การสัมผัสภาษาระหวางภาษาจีนแต้จิ๋วและภาษาจีนแคะถิ่นเฟิงซุนน่าจะ เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทําให้ระบบการณ์ลักษณะภาษาจีนแคะถิ่นเฟิงซุนแตกต่างจากระบบการณ์ลักษณะของ ภาษาจีนแคะถิ่นเหมียวลี่
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Research Institute for Languages and Cultures of Asia
Degree Discipline
Linguistics
Degree Grantor(s)
Mahidol University