Effects of moringa oleifera on lead-induced toxicity in puntius altus
Issued Date
2023
Copyright Date
2013
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xiii, 105 leaves : ill. (some col.)
Access Rights
restricted access
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D. (Pathobiology))--Mahidol University, 2013
Suggested Citation
Sunisa Sirimongkolvorakul Effects of moringa oleifera on lead-induced toxicity in puntius altus. Thesis (Ph.D. (Pathobiology))--Mahidol University, 2013. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89514
Title
Effects of moringa oleifera on lead-induced toxicity in puntius altus
Alternative Title(s)
ผลของอาหารเสริมใบมะรุมต่อพิษสารตะกั่วในปลาตะเพียน
Author(s)
Abstract
Lead contamination can be found in soil, water, and food which can be accumulated into many organisms. Currently, lead exposure through dietary sources is a major public health concern. There is a growing trend worldwide on using medicinal plant as an alternative treatment for various diseases. Moringa oleifera, a plant in Moringaceae family, has been used in traditional medicine in many parts of the world. In this study, the protective potency of M.oleifera-supplemented diets protect against lead toxicity to the fish Puntius altus were investigated. The results showed that the gills of fish pre-administering with both dosages of M. oleifera diets (20 mg g-1 and 60 mg g -1) before lead exposure showed only mild alterations to the gill filament. Interestingly, a number of mucous cells particularly the acid mucopolysaccharide cells were observed in the group of fish pre-administered with M. oleifera-supplemented diets. The control fish fed without M. oleifera supplement diet showed 94 neutral mucous cell types which indicated that the protective efficiency of this plant could be due to the role of acid mucous cells. Moreover, pre-treatment with M. oleifera supplement diet also reduced liver and kidney damages due to lead exposure as well as decreased in an expression of proliferating cell nuclear antigen (PCNA), a marker of cellular proliferation. Overall, these results suggest that pre-treatment with M. oleifera-supplemented diet is able to protect the fish against damages from lead exposure.
สารตะกั่วที่ปนเปื้อนทั้งในดิน น้ำ และอาหารสามารถถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกายของ สิ่งมีชีวิตได้ ปัจจุบันพบว่าการปนเปื้อนของสารตะกั่วจากอาหารเป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุข ขณะเดียวกันการรักษาโดยใช้พืชสมุนไพรได้รับความสนใจเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง มะรุมเป็นพืชในวงศ์ Moringaceae จัดเป็นพืชสมุนไพรที่มีการใช้ประโยชน์แพร่หลายทั่วโลก การศึกษานี้เป็นการ ประเมินการป้องกันของอาหารเสริมใบมะรุมต่อการเกิดพิษอันเนื่องมาจากสารตะกั่วในปลาตะเพียน จากการศึกษาพบว่าปลาตะเพียนที่ได้รับอาหารเสริมใบมะรุมก่อนได้รับสารตะกั่วมีการเปลี่ยนแปลง ทางพยาธิสภาพของเนื้อเยื่อเหงือกเพียงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับปลาตะเพียนที่ไม่ได้รับอาหารเสริมใบ มะรุม และจากการศึกษาเนื้อเยื่อวิทยาเคมีพบว่ามีการเพิ่มจำนวนของ acid mucous cells ในขณะที่ ปลาตะเพียนในกลุ่มควบคุมพบ neutral mucous cell เป็นเซลล์ส่วนใหญ่ การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า ประสิทธิภาพของอาหารเสริมใบมะรุมในการป้องกันพิษจากสารตะกั่วอาจมีความเกี่ยวข้องกับ บทบาทของ acid mucous cells นอกจากนี้ยังพบว่าการได้รับอาหารเสริมใบมะรุมก่อนได้รับสาร ตะกั่ว ช่วยลดการเกิดพยาธิสภาพของเนื้อเยื่อไตและตับ อีกทั้งยังลดการเพิ่มจำนวนของเซลล์เนื้อเยื่อ ในเหงือกและเซลล์ตับอีกด้วย กล่าวโดยสรุปคือ อาหารเสริมใบมะรุมอาจจะสามารถป้องกันพิษจาก สารตะกั่วในปลาได้
สารตะกั่วที่ปนเปื้อนทั้งในดิน น้ำ และอาหารสามารถถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกายของ สิ่งมีชีวิตได้ ปัจจุบันพบว่าการปนเปื้อนของสารตะกั่วจากอาหารเป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุข ขณะเดียวกันการรักษาโดยใช้พืชสมุนไพรได้รับความสนใจเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง มะรุมเป็นพืชในวงศ์ Moringaceae จัดเป็นพืชสมุนไพรที่มีการใช้ประโยชน์แพร่หลายทั่วโลก การศึกษานี้เป็นการ ประเมินการป้องกันของอาหารเสริมใบมะรุมต่อการเกิดพิษอันเนื่องมาจากสารตะกั่วในปลาตะเพียน จากการศึกษาพบว่าปลาตะเพียนที่ได้รับอาหารเสริมใบมะรุมก่อนได้รับสารตะกั่วมีการเปลี่ยนแปลง ทางพยาธิสภาพของเนื้อเยื่อเหงือกเพียงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับปลาตะเพียนที่ไม่ได้รับอาหารเสริมใบ มะรุม และจากการศึกษาเนื้อเยื่อวิทยาเคมีพบว่ามีการเพิ่มจำนวนของ acid mucous cells ในขณะที่ ปลาตะเพียนในกลุ่มควบคุมพบ neutral mucous cell เป็นเซลล์ส่วนใหญ่ การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า ประสิทธิภาพของอาหารเสริมใบมะรุมในการป้องกันพิษจากสารตะกั่วอาจมีความเกี่ยวข้องกับ บทบาทของ acid mucous cells นอกจากนี้ยังพบว่าการได้รับอาหารเสริมใบมะรุมก่อนได้รับสาร ตะกั่ว ช่วยลดการเกิดพยาธิสภาพของเนื้อเยื่อไตและตับ อีกทั้งยังลดการเพิ่มจำนวนของเซลล์เนื้อเยื่อ ในเหงือกและเซลล์ตับอีกด้วย กล่าวโดยสรุปคือ อาหารเสริมใบมะรุมอาจจะสามารถป้องกันพิษจาก สารตะกั่วในปลาได้
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Faculty of Science
Degree Discipline
Pathobiology
Degree Grantor(s)
Mahidol University