Nutritive value, food safety, and digestive enzyme characteristics for edible land snail (Cyclophorus haughtoni) farming
Issued Date
2024
Copyright Date
2019
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xii, 125 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Appropriate Technology and Innovation for Environmental Security))--Mahidol University, 2018
Suggested Citation
Warit Paisantanakij Nutritive value, food safety, and digestive enzyme characteristics for edible land snail (Cyclophorus haughtoni) farming. Thesis (M.Sc. (Appropriate Technology and Innovation for Environmental Security))--Mahidol University, 2018. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91699
Title
Nutritive value, food safety, and digestive enzyme characteristics for edible land snail (Cyclophorus haughtoni) farming
Alternative Title(s)
คุณค่าทางโภชนาการ ความปลอดภัยทางอาหาร และคุณลักษณะของเอนไซม์ย่อยอาหารสำหรับการทำฟาร์มหอยทากบก (Cyclophorus haughtoni)
Author(s)
Abstract
This research aims to study the nutritive values, food safety (Eosinophilic meningoencephalitis disease from Angiostrongylus cantonensis parasite and bioaccumulation of heavy metals), and digestive enzyme characteristics (amulase, cellulase, trehalase, trypsin, chymotrypsin, protease, and lipase) of adult land snail (Cyclophorus haughtoni) by analyzing each enzyme activity at different condition (pH 3-9 and temperature (25-80 °C). The result found that the samples had moisture 82%, ash 1.3%, crude protein 14%, crude fat 0.4%, and carbohydrate 1.9%. For fatty acids profile, five types of fatty acids (oleic acid 34.8%, palmitic acid 30.7%, stearic acid 18.9%, linoleic acid 14.1%, and lauric acid 1.54%) were found. Essential and non-essential amino acids were 19.0 and 35.3 μg/100 μg protein, respectively. There was no A. cantonensis parasite, but some nematodes were found even though their genus and species could not be identified in all the land snail samples. There was no heavy metal in shell and whole body of the samples. The optimal pH of amylase, cellulase, trehalase, trypsin, chymotrypsin, protease, and lipase of crude enzyme extracts from salivary gland and digestive gland were 3, 6, 6-9, 5, 9, 6, and 8, respectively. The optimal temperatures were 40, 50, 60-80, 25, 50-60, 70, and 70 °C, respectively. They were also found to be statistically significant different (P<0.01) except chymotrypsin activity in each pH and protease activity in each temperature (P<0.05). Enzyme activities from digestive gland crude extract were found to be higher than those from salivary gland except cellulase, trypsin, and lipase. The result from this study showed that C. haughtoni has potential to be an alternative food for human and animal. Furthermore, the knowledge from digestive enzyme characteristics results in this study could be applied to formulate appropriate diets from edible land snail for commercial purpose in the future.
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณค่าทางโภชนาการ ความปลอดภัยทางอาหาร (โรคพยาธิหอยโข่งที่เกิดจากพยาธิตัวกลม Angiostrongylus cantonensis และการสะสมของโลหะหนัก) และคุณลักษณะเอนไซม์ย่อยอาหาร (อะไมเลส เซลลูเลส ทรีฮาเลส ทริปซิน ไคโมทริปซิน โปรติเอส และไลเปส) ของหอยทากบกตัวเต็มวัย (Cyclophorus haughtoni) โดยวิเคราะห์กิจกรรมเอนไซม์แต่ละชนิดที่สภาวะเปลี่ยนแปลงพีเอช (3-9) และสภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ (25-80 องศาเซลเซียส) จากการศึกษาพบว่าหอยทากบกมีความชื้น 82% เถ้า 1.3% โปรตีน 14% ไขมัน 0.4% และคาร์โบไฮเดรต 1.9% กรดไขมัน 5 ชนิด (กรดโอเลอิค 34.8% กรดปาล์มิติก 30.7% กรดสเตียริก 18.9% กรดลิโนเลอิก 14.1% และกรดลอริก 1.54%) กรดอะมิโนจำเป็นและไม่จำเป็นเท่ากับ 19.0 และ 35.3 ไมโครกรัมต่อ100ไมโครกรัมโปรตีน ตามลำดับ ไม่พบ A. cantonensis แต่พบพยาธิตัวกลมซึ่งไม่สามารถจำแนกชนิดได้ในตัวอย่างที่ศึกษาทั้งหมด ไม่พบโลหะหนัก (สารหนู แคดเมียม ตะกั่วและปรอท) ในส่วนของเปลือกและเนื้อ คุณลักษณะของเอนไซม์อะไมเลส เซลลูเลส ทรีฮาเลส ทริปซิน ไคโมทริปซิน โปรติเอส และไลเปสของเอนไซม์สกัดรวมจากต่อมน้ำลายและต่อมย่อยอาหารพบว่ามีพีเอชที่เหมาะสมอยู่ที่ 3 6 6-9 5 9 6 และ 8ตามลำดับ ส่วนอุณหภูมิที่เหมาะสมอยู่ที่ 40 50 60-80 25 50-60 70 และ 70 องศาเซลเซียส ตามลำดับ โดยพบความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p <0.01) ยกเว้น กิจกรรมเอนไซม์ไคโมทริปซินในระดับพีเอชที่แตกต่างกัน และกิจกรรมเอนไซม์โปรติเอสในอุณหภูมิที่แตกต่างกัน (p >0.05) กิจกรรมเอนไซม์จากต่อมย่อยอาหารส่วนใหญ่มีค่ามากกว่ากิจกรรมเอนไซม์จากต่อมน้ำลาย ยกเว้น เซลลูเลส ทริปซิน และไลเปส จากผลการศึกษานี้หอยทากบก C. haughtoni มีศักยภาพที่จะเป็นอาหารทางเลือกสำหรับมนุษย์และสัตว์ได้ นอกจากนี้ผลของกิจกรรมของเอนไซม์ย่อยอาหารเป็นองค์ความรู้ที่สามารถนำไปต่อยอดในการสร้างสูตรอาหารที่เหมาะสมสำหรับการทำฟาร์มหอยทากบกเชิงพาณิชย์ต่อไป
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณค่าทางโภชนาการ ความปลอดภัยทางอาหาร (โรคพยาธิหอยโข่งที่เกิดจากพยาธิตัวกลม Angiostrongylus cantonensis และการสะสมของโลหะหนัก) และคุณลักษณะเอนไซม์ย่อยอาหาร (อะไมเลส เซลลูเลส ทรีฮาเลส ทริปซิน ไคโมทริปซิน โปรติเอส และไลเปส) ของหอยทากบกตัวเต็มวัย (Cyclophorus haughtoni) โดยวิเคราะห์กิจกรรมเอนไซม์แต่ละชนิดที่สภาวะเปลี่ยนแปลงพีเอช (3-9) และสภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ (25-80 องศาเซลเซียส) จากการศึกษาพบว่าหอยทากบกมีความชื้น 82% เถ้า 1.3% โปรตีน 14% ไขมัน 0.4% และคาร์โบไฮเดรต 1.9% กรดไขมัน 5 ชนิด (กรดโอเลอิค 34.8% กรดปาล์มิติก 30.7% กรดสเตียริก 18.9% กรดลิโนเลอิก 14.1% และกรดลอริก 1.54%) กรดอะมิโนจำเป็นและไม่จำเป็นเท่ากับ 19.0 และ 35.3 ไมโครกรัมต่อ100ไมโครกรัมโปรตีน ตามลำดับ ไม่พบ A. cantonensis แต่พบพยาธิตัวกลมซึ่งไม่สามารถจำแนกชนิดได้ในตัวอย่างที่ศึกษาทั้งหมด ไม่พบโลหะหนัก (สารหนู แคดเมียม ตะกั่วและปรอท) ในส่วนของเปลือกและเนื้อ คุณลักษณะของเอนไซม์อะไมเลส เซลลูเลส ทรีฮาเลส ทริปซิน ไคโมทริปซิน โปรติเอส และไลเปสของเอนไซม์สกัดรวมจากต่อมน้ำลายและต่อมย่อยอาหารพบว่ามีพีเอชที่เหมาะสมอยู่ที่ 3 6 6-9 5 9 6 และ 8ตามลำดับ ส่วนอุณหภูมิที่เหมาะสมอยู่ที่ 40 50 60-80 25 50-60 70 และ 70 องศาเซลเซียส ตามลำดับ โดยพบความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p <0.01) ยกเว้น กิจกรรมเอนไซม์ไคโมทริปซินในระดับพีเอชที่แตกต่างกัน และกิจกรรมเอนไซม์โปรติเอสในอุณหภูมิที่แตกต่างกัน (p >0.05) กิจกรรมเอนไซม์จากต่อมย่อยอาหารส่วนใหญ่มีค่ามากกว่ากิจกรรมเอนไซม์จากต่อมน้ำลาย ยกเว้น เซลลูเลส ทริปซิน และไลเปส จากผลการศึกษานี้หอยทากบก C. haughtoni มีศักยภาพที่จะเป็นอาหารทางเลือกสำหรับมนุษย์และสัตว์ได้ นอกจากนี้ผลของกิจกรรมของเอนไซม์ย่อยอาหารเป็นองค์ความรู้ที่สามารถนำไปต่อยอดในการสร้างสูตรอาหารที่เหมาะสมสำหรับการทำฟาร์มหอยทากบกเชิงพาณิชย์ต่อไป
Description
Appropriate Technology and Innovation for Environmental Security (Mahidol University 2019)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Environment and Resource Studies
Degree Discipline
Appropriate Technology and Innovation for Environmental Security
Degree Grantor(s)
Mahidol University