Comparison of Vidar Dosimetry Pro Advantage and Epson Perfection V700 scanner in densitometry of Radiochromic EBT2 Film in measurement of high dose gradient
Issued Date
2016
Copyright Date
2016
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xv, 93 leaves : col. ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Medical Physics))--Mahidol University, 2016
Suggested Citation
Wathinee Bura Comparison of Vidar Dosimetry Pro Advantage and Epson Perfection V700 scanner in densitometry of Radiochromic EBT2 Film in measurement of high dose gradient. Thesis (M.Sc. (Medical Physics))--Mahidol University, 2016. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/93302
Title
Comparison of Vidar Dosimetry Pro Advantage and Epson Perfection V700 scanner in densitometry of Radiochromic EBT2 Film in measurement of high dose gradient
Alternative Title(s)
การเปรียบเทียบการวัดปริมาณรังสีด้วยเครื่องสแกนเนอร์ Vidar Advantage Pro and Epson Perfection V700 โดยใช้ Radiochromic EBT2 Film ในการวัดปริมาณที่มีการเปลี่ยนแปลงปริมาณรังสีสูง
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
Nowadays the radiochromic film is widely used to obtain dose distribution in two dimensions with high spatial resolution, less energy dependence, and near tissue equivalent. It can be a commissioning tool to verify high dose gradient of dose distribution for conventional technique (2D), Intensity Modulated Radiation Therapy (IMRT) and Volumetric Modulated Arc Therapy (VMAT). However, the film scanner could affect the accuracy of dose distribution if the lack of precaution in use procedure. In this study, the comparison between Epson Perfection V700 and Vidar Dosimetry Pro Advantage (Red) is evaluated regarding the capability to verify the 2D dose distribution for conventional, IMRT and VMAT techniques. The GafchromicTM EBT2 films were read from two types of scanners (Epson Perfection V700 and Vidar Dosimetry Pro Advantage (Red)) for intensity modulated radiation therapy (IMRT) and volumetric modulated radiation therapy (VMAT) dosimetry. The software for analyzing the results of Epson Perfection V700 and Vidar Dosimetry Pro Advantage (Red) are SNC Patient software and Omnipro I'mRT software, respectively. Comparisons between measured and calculated dose distributions reported as %passing rate and the gamma index for tolerance parameters of 3% and 3mm. The study found that the %passing rate obtained from Epson Perfection V700 and Vidar Dosimetry Pro Advantage (Red) scanner compared with Eclipse treatment planning system in 2D, IMRT and VMAT are more than 98% with the criteria of (3%/,3mm).
ในปัจจุบันการมีการใช้งาน Radiochromic film อย่างกว้างขวางในงานทางด้านรังสีรักษา เนื่องจากคุณสมบัติที่ สามารถทำการวัดปริมาณรังสีได้ทั้งแบบเฉพาะจุดและสามารถแสดงการกระจายตัวของปริมาณรังสีในแนวระนาบได้ด้วยการทำการวัดเพียงครั้งเดียว นอกจากนี้ยังมีคุณลักษณะทางโครงสร้างใกล้เคียงกับเนื้อเยื่อมนุษย์ส่งผลให้เมื่อใช้ในการวัดปริมาณรังสีจะมีการตอบสนองขึ้นกับพลังงานของลำรังสีค่อนข้างน้อยและยังมีความละเอียดในการวัดสูง (high spatial resolution) เมื่อเปรียบเทียบกับหัววัดรังสีหรืออุปกรณ์วัดรังสี 2 มิติชนิดอื่น จึงส่งผลให้ radiochromic film เหมาะที่จะนำมาใช้ในการตรวจวัดและตรวจสอบปริมาณรังสีในบริเวณที่มีการเปลี่ยนแปลงปริมาณรังสีสูง (high dose gradient) เช่น การฉายรังสีด้วยเทคนิคการฉายแบบปรับความเข้ม (IMRT) และการฉายรังสีแบบปรับความเข้มหมุนรอบตัวผู้ป่วย (VMAT) อย่างไรก็ตามการใช้ radiochromic film ในการวัดปริมาณรังสีจะถูกจำกัดความละเอียดที่ได้จากการวัดปริมาณรังสีด้วยเครื่องอ่านค่าหรือสแกนเนอร์ส่งผลให้ค่าที่อ่านได้มีความคลาดเคลื่อนหรือไม่สอดคล้องกับความละเอียดของฟิล์ม ในการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทำการเปรียบเทียบความสามารถของเครื่องสแกนเนอร์ที่ใช้ในการอ่านค่าการวัดปริมาณรังสีด้วย radiochromic film รุ่น EBT2 โดยทำการเปรียบเทียบระหว่างการอ่านค่าด้วยเครื่องสแกนเนอร์ทางการแพทย์ Vidar Dosimetry Pro Advantage (Red) และเครื่องสแกนเนอร์สำหรับการใช้งานทั่วไปยี่ห้อ Epson รุ่น Perfection V700 โดยทำการ ตรวจสอบการกระจายตัวของปริมาณรังสีในแนวระนาบที่ได้จากการฉายรังสีด้วยเทคนิคการฉายรังสีแบบ 2 มิติ การฉายรังสีแบบปรับความเข้ม (IMRT) และการฉายรังสีแบบปรับความเข้มหมุนรอบตัวผู้ป่วย (VMAT) ที่ทำการวางแผนด้วยเครื่องวางแผนการรักษา Eclipse Treatment Planning โดยทำการวิเคราะห์ผลการเปรียบเทียบด้วยโปรแกรม SNC Patient และ Omnipro I'mRT สำหรับค่าที่อ่านได้จากเครื่องสแกนเนอร์ Epson Perfection V700 และ Vidar Dosimetry Pro Advantage (Red) ตามลำดับ ซึ่งทำการเปรียบเทียบ โดยใช้ %pass ด้วย criteria 3%/3mm ผลการวิจัยนี้มีข้อสรุปคือ ผลการเปรียบเทียบด้วยเครื่องสแกนเนอร์ทั้ง Epson Perfection V700 และ Vidar Dosimetry Pro Advantage (Red) ด้วยโปรแกรม SNC Patient และ Omnipro I'mRT ตามลำดับ พบว่าผลการเปรียบเทียบแผนการรักษาด้วยเทคนิคการฉายแบบ 2 มิติ การฉายรังสีแบบปรับความเข้ม (IMRT) และการฉายรังสีแบบปรับความเข้มหมุนรอบตัวผู้ป่วย (VMAT) ทั้งสองสแกนเนอร์ มีค่า %pass (3%/3mm) มากกว่า 98%
ในปัจจุบันการมีการใช้งาน Radiochromic film อย่างกว้างขวางในงานทางด้านรังสีรักษา เนื่องจากคุณสมบัติที่ สามารถทำการวัดปริมาณรังสีได้ทั้งแบบเฉพาะจุดและสามารถแสดงการกระจายตัวของปริมาณรังสีในแนวระนาบได้ด้วยการทำการวัดเพียงครั้งเดียว นอกจากนี้ยังมีคุณลักษณะทางโครงสร้างใกล้เคียงกับเนื้อเยื่อมนุษย์ส่งผลให้เมื่อใช้ในการวัดปริมาณรังสีจะมีการตอบสนองขึ้นกับพลังงานของลำรังสีค่อนข้างน้อยและยังมีความละเอียดในการวัดสูง (high spatial resolution) เมื่อเปรียบเทียบกับหัววัดรังสีหรืออุปกรณ์วัดรังสี 2 มิติชนิดอื่น จึงส่งผลให้ radiochromic film เหมาะที่จะนำมาใช้ในการตรวจวัดและตรวจสอบปริมาณรังสีในบริเวณที่มีการเปลี่ยนแปลงปริมาณรังสีสูง (high dose gradient) เช่น การฉายรังสีด้วยเทคนิคการฉายแบบปรับความเข้ม (IMRT) และการฉายรังสีแบบปรับความเข้มหมุนรอบตัวผู้ป่วย (VMAT) อย่างไรก็ตามการใช้ radiochromic film ในการวัดปริมาณรังสีจะถูกจำกัดความละเอียดที่ได้จากการวัดปริมาณรังสีด้วยเครื่องอ่านค่าหรือสแกนเนอร์ส่งผลให้ค่าที่อ่านได้มีความคลาดเคลื่อนหรือไม่สอดคล้องกับความละเอียดของฟิล์ม ในการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทำการเปรียบเทียบความสามารถของเครื่องสแกนเนอร์ที่ใช้ในการอ่านค่าการวัดปริมาณรังสีด้วย radiochromic film รุ่น EBT2 โดยทำการเปรียบเทียบระหว่างการอ่านค่าด้วยเครื่องสแกนเนอร์ทางการแพทย์ Vidar Dosimetry Pro Advantage (Red) และเครื่องสแกนเนอร์สำหรับการใช้งานทั่วไปยี่ห้อ Epson รุ่น Perfection V700 โดยทำการ ตรวจสอบการกระจายตัวของปริมาณรังสีในแนวระนาบที่ได้จากการฉายรังสีด้วยเทคนิคการฉายรังสีแบบ 2 มิติ การฉายรังสีแบบปรับความเข้ม (IMRT) และการฉายรังสีแบบปรับความเข้มหมุนรอบตัวผู้ป่วย (VMAT) ที่ทำการวางแผนด้วยเครื่องวางแผนการรักษา Eclipse Treatment Planning โดยทำการวิเคราะห์ผลการเปรียบเทียบด้วยโปรแกรม SNC Patient และ Omnipro I'mRT สำหรับค่าที่อ่านได้จากเครื่องสแกนเนอร์ Epson Perfection V700 และ Vidar Dosimetry Pro Advantage (Red) ตามลำดับ ซึ่งทำการเปรียบเทียบ โดยใช้ %pass ด้วย criteria 3%/3mm ผลการวิจัยนี้มีข้อสรุปคือ ผลการเปรียบเทียบด้วยเครื่องสแกนเนอร์ทั้ง Epson Perfection V700 และ Vidar Dosimetry Pro Advantage (Red) ด้วยโปรแกรม SNC Patient และ Omnipro I'mRT ตามลำดับ พบว่าผลการเปรียบเทียบแผนการรักษาด้วยเทคนิคการฉายแบบ 2 มิติ การฉายรังสีแบบปรับความเข้ม (IMRT) และการฉายรังสีแบบปรับความเข้มหมุนรอบตัวผู้ป่วย (VMAT) ทั้งสองสแกนเนอร์ มีค่า %pass (3%/3mm) มากกว่า 98%
Description
Medical Physics (Mahidol University 2016)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital
Degree Discipline
Medical Physics
Degree Grantor(s)
Mahidol University