Risk factors of oral cancer among Thai people : a hospital-based case-control study
Issued Date
1996
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
48399570 bytes
Rights
Mahidol University
Suggested Citation
Kulaya Narksawat, Jayanton Patumanond, Dusit Sujirarat, Runjuan Sukkavee, กุลยา นาคสวัสดิ์, ชยันตร์ธร ปทุมานนท์, ดุสิต สุจิรารัตน์, รัญจวน สุขกวี (1996). Risk factors of oral cancer among Thai people : a hospital-based case-control study. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/58870
Title
Risk factors of oral cancer among Thai people : a hospital-based case-control study
Alternative Title(s)
รายงานการวิจัยปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งช่องปากในคนไทย
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งช่องปากในคนไทย
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งช่องปากในคนไทย
Other Contributor(s)
Abstract
A hospital-based case-control study was conducted at the National Cancer Institute and other five government hospitals in Bangkok during June to October 1995. to determine the effects of risk factors for oral cancer among Thai people. A total of 140 oral cancer cases with histological confirmation were matched 1:1 with 140 non-cancer controls by the same interval of age ( ? 2 years ) , gender and the same period of hospitalization within 3 months. Excludsion was for those who were currently diagnosed with tobacco and alcohol related diseases. Informations was retrived from the hospital and interviewing.
Conditional logistic regression analysis was used to calculate the effect of one factor adjusted for the effects of other factors. The results showed that cigarette smoking had a higher risk when compared to non smoking (OR =2.79, 95%CI=1.08-7.19), the risk increased with the number of cigarettes used and duration of smoking prolonged. Smoking of hand rolled cigarettes showed the highest risk of oral cancer (OR = 3.36, 95%CI=1.15-9.81). Alcohol drinking was a strong risk factor (OR=10.64, 95%CI=3.13-36.07). A dose response relationship was present with increasing amount and duration of alcohol drinking Drink for more than 38 years had the highest risk with an OR=11.17, 95%CI=2.07-10.56). Consumption of local commercial spirit was predominant with increased risk (OR=4.59, 95%CI= 1.85-11.35). Betel nut chewing habit was associated with the risk of oral cancer (OR=4.67, 95%CI=2.07-10.56). The risk increased with increasing frequency of chewing and duration of chewing. Very higher risk was found among those who chewed with tobacco (OR=15.02, 95%CI=4.55-49.59). poor oral hygiene by never brushing showed risk when compared brushing 1 and 2 time/day (OR=4.25, 95%CI=1.30-3.81,OR=2.51, 95%CI=1.06-5.59). History of having pain from denture wear also showed risk of cancer or oral cavity (OR = 4.57, 95%CI = 1.39-14.99). A significant protective effect was observed from consumption of citric fruit (OR = 0.37, 95%CI = 0.16.0.82).
การศึกษาปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งช่องปากในคนไทยโดยใช้ข้อมูลจากผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในสถาบันมะเร็งแห่งชาติ และโรงพยาบาลของรัฐอีก 5 หางในกรุงเทพมหานคร ด้วนวิธีศึกษาเปรียบเทียบย้อยหลัง (Case-control study) ในช่วงเลาตั้งแต่ 22 มิถุนายน 2538 ถึง 5 ตุลาคม 2538 จำนวนตัวอย่างทั้งหมด ได้แก่ กลุ่มศึกษา (Case) ที่มีผลการตรวจทางพยาธิวิทยายืนยันว่าเป็นมะเร็งช่องปากจำนวน 140 คน และกลุ่มควบคุม (control) ที่ไม่ใช่ผู้ป่วยโรคมะเร็งจำนวน 140 คน โดยจำคู่กัน (Matching) ระหว่าง กลุ่มศึกษา กับกลุ่มควบคุม ให้เป็นเพศเดียวกัน ช่วงอายุห่างกันไม่เกิน 2 ปี (? 2 ปี) และเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเดียวกันในช่วงระยะเวลา 3 เดือน โดยกลุ่มควบคุมที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคเกี่ยวกับบุหรี่และสุราจะไม่นำเข้ามาศึกษา ข้อมูลทั้งหมดได้แก่ ลักษณะส่วนตัวและการได้รับปัจจัยที่จะศึกษาได้จากทะเบียนผู้ป่วยและจากการสัมภาษณ์ซึ่งประกอบด้วย ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วยประวัติการสูบบุหรี่ การดื่มสุรา การเคี้ยวหมาก การใช้ยานัตถุ์ การเจ็บป่วยด้วยโรคโลหิตจาง การติดเชื้อ HPV และ HSV การสัมผัสกับแสงแดด สุขภาพช่องปาก การรับประทานอาหาร ประเภทผักและผลไม้ ผลจากการวิเคราะห์ด้วย Conditional logistic regression เพื่อหาค่าความเสี่ยงของปัจจัยแต่ละตัวโดยควบคุมอิทธิพลของตัวแปรอื่นๆ พบว่า การสูบบุหรี่ เมื่อเปรียบเทียบกับผู้ที่ไม่สูบบุหรี่ ผู้ที่สูบบุหรี่เป็นประจำจะเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็งในช่องปากสูง( OR=2.79, 95%CI+1.0-7.19)โดยค่าความเสี่ยงจะเพิ่มขึ้นตามระยะเวลา (สูบนานกว่า 36 ปี OR=3.27, 95%CI=1.41-21.32) และจำนวนบุหรี่ที่สูบ (สูบ 10-19 มวนต่อวัน OR=4.35, 95%CI=1.39-13.620, สูบมากกว่า 19 มวนต่อกัน (OR = 3.36, 95%Ci= 1.15-9.81) การดื่มสุราเมื่อเทียบกับการไม่ดื่มมีความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งช่องปากสูง (OR= 10.64, 95%CI=3.13-36.07) โดยความเสี่ยงจะเพิ่มขึ้นตามปริมาณที่ดื่ม (ดื่ม 14-44 แก้วต่อสัปดาห์ OR= 5.23, 95%CI=1053-17.90 และดื่มมากกว่า 44 แก้วต่อสัปดาห์ OR=5.85, 95%CI=1083-18.70 และระยะเวลาดื่ม (ดื่มนาน 26-38 ปี OR=3.65, 95%CI=1.20-11.11 และนานกว่า 38 ปี OR=11.17,95%CI=3.08-40.50) การเคี้ยวหมากเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งช่องปากสูงเช่นกัน (OR= 4.68, 95%CI= 2.07-10.56) โดยความเสี่ยงจะเพิ่มขึ้นตามจำนวนคำที่เคี้ยวต่อวัน (เคี้ยว 2-3 คำต่อวัน OR= 4.04, 95%CI= 1.19-13.67 และมากกว่า 3 คำต่อวัน OR=7.05, 95%CI=2.57-19.35) และระยะเวลาที่เคี้ยว (เคี้ยว นาน 21-40 ปี OR=4017, 95%CI=1.41-12.27, และเคี้ยวนานกว่า 40 ปี OR=7.51, 95%CI=2.29-24.77) การใส่ยาเส้นในคำหมากที่เคี้ยวจะทำให้ค่าความเสี่ยงเพิ่มขึ้น OR=15.02,95%CI=4.55-49.59) พบว่าการไม่แปรงฟันจะมีส่วนส่งเสริมการเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งในช่องปากสูง (OR =4.25, 95%CI=1.30-13.81) และการแปรงฟันวันละ 1 ครั้งหรือน้อยกว่าจะเสี่ยงมากกว่าเช่นกัน (OR=2.51, 95%CI = 1.06-5.59) เปรียบเทียบกับผู้แปรงกันวันละ 2 ครั้ง ผู้ที่มีประวัติเจ็บฟันปลอมจะเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งช่องปากมากกว่าผู้ที่ไม่มีประวัติ (OR=4.57, 95%CI= 1.39-14.99) นอกจากนี้พบว่าการเกิดโรคลดลงในผู้ที่ชอบรับประทานผลไม้ประเภทส้มเป็นประจำ มากกว่า 3 ครั้งต่อสัปดาห์ (OR=0.37, 95%CI=0.18-0.78) และผลไม้สดอื่นๆ (OR=0.37, 95%CI=0.16-0.81)
การศึกษาปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งช่องปากในคนไทยโดยใช้ข้อมูลจากผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในสถาบันมะเร็งแห่งชาติ และโรงพยาบาลของรัฐอีก 5 หางในกรุงเทพมหานคร ด้วนวิธีศึกษาเปรียบเทียบย้อยหลัง (Case-control study) ในช่วงเลาตั้งแต่ 22 มิถุนายน 2538 ถึง 5 ตุลาคม 2538 จำนวนตัวอย่างทั้งหมด ได้แก่ กลุ่มศึกษา (Case) ที่มีผลการตรวจทางพยาธิวิทยายืนยันว่าเป็นมะเร็งช่องปากจำนวน 140 คน และกลุ่มควบคุม (control) ที่ไม่ใช่ผู้ป่วยโรคมะเร็งจำนวน 140 คน โดยจำคู่กัน (Matching) ระหว่าง กลุ่มศึกษา กับกลุ่มควบคุม ให้เป็นเพศเดียวกัน ช่วงอายุห่างกันไม่เกิน 2 ปี (? 2 ปี) และเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเดียวกันในช่วงระยะเวลา 3 เดือน โดยกลุ่มควบคุมที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคเกี่ยวกับบุหรี่และสุราจะไม่นำเข้ามาศึกษา ข้อมูลทั้งหมดได้แก่ ลักษณะส่วนตัวและการได้รับปัจจัยที่จะศึกษาได้จากทะเบียนผู้ป่วยและจากการสัมภาษณ์ซึ่งประกอบด้วย ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วยประวัติการสูบบุหรี่ การดื่มสุรา การเคี้ยวหมาก การใช้ยานัตถุ์ การเจ็บป่วยด้วยโรคโลหิตจาง การติดเชื้อ HPV และ HSV การสัมผัสกับแสงแดด สุขภาพช่องปาก การรับประทานอาหาร ประเภทผักและผลไม้ ผลจากการวิเคราะห์ด้วย Conditional logistic regression เพื่อหาค่าความเสี่ยงของปัจจัยแต่ละตัวโดยควบคุมอิทธิพลของตัวแปรอื่นๆ พบว่า การสูบบุหรี่ เมื่อเปรียบเทียบกับผู้ที่ไม่สูบบุหรี่ ผู้ที่สูบบุหรี่เป็นประจำจะเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็งในช่องปากสูง( OR=2.79, 95%CI+1.0-7.19)โดยค่าความเสี่ยงจะเพิ่มขึ้นตามระยะเวลา (สูบนานกว่า 36 ปี OR=3.27, 95%CI=1.41-21.32) และจำนวนบุหรี่ที่สูบ (สูบ 10-19 มวนต่อวัน OR=4.35, 95%CI=1.39-13.620, สูบมากกว่า 19 มวนต่อกัน (OR = 3.36, 95%Ci= 1.15-9.81) การดื่มสุราเมื่อเทียบกับการไม่ดื่มมีความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งช่องปากสูง (OR= 10.64, 95%CI=3.13-36.07) โดยความเสี่ยงจะเพิ่มขึ้นตามปริมาณที่ดื่ม (ดื่ม 14-44 แก้วต่อสัปดาห์ OR= 5.23, 95%CI=1053-17.90 และดื่มมากกว่า 44 แก้วต่อสัปดาห์ OR=5.85, 95%CI=1083-18.70 และระยะเวลาดื่ม (ดื่มนาน 26-38 ปี OR=3.65, 95%CI=1.20-11.11 และนานกว่า 38 ปี OR=11.17,95%CI=3.08-40.50) การเคี้ยวหมากเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งช่องปากสูงเช่นกัน (OR= 4.68, 95%CI= 2.07-10.56) โดยความเสี่ยงจะเพิ่มขึ้นตามจำนวนคำที่เคี้ยวต่อวัน (เคี้ยว 2-3 คำต่อวัน OR= 4.04, 95%CI= 1.19-13.67 และมากกว่า 3 คำต่อวัน OR=7.05, 95%CI=2.57-19.35) และระยะเวลาที่เคี้ยว (เคี้ยว นาน 21-40 ปี OR=4017, 95%CI=1.41-12.27, และเคี้ยวนานกว่า 40 ปี OR=7.51, 95%CI=2.29-24.77) การใส่ยาเส้นในคำหมากที่เคี้ยวจะทำให้ค่าความเสี่ยงเพิ่มขึ้น OR=15.02,95%CI=4.55-49.59) พบว่าการไม่แปรงฟันจะมีส่วนส่งเสริมการเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งในช่องปากสูง (OR =4.25, 95%CI=1.30-13.81) และการแปรงฟันวันละ 1 ครั้งหรือน้อยกว่าจะเสี่ยงมากกว่าเช่นกัน (OR=2.51, 95%CI = 1.06-5.59) เปรียบเทียบกับผู้แปรงกันวันละ 2 ครั้ง ผู้ที่มีประวัติเจ็บฟันปลอมจะเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งช่องปากมากกว่าผู้ที่ไม่มีประวัติ (OR=4.57, 95%CI= 1.39-14.99) นอกจากนี้พบว่าการเกิดโรคลดลงในผู้ที่ชอบรับประทานผลไม้ประเภทส้มเป็นประจำ มากกว่า 3 ครั้งต่อสัปดาห์ (OR=0.37, 95%CI=0.18-0.78) และผลไม้สดอื่นๆ (OR=0.37, 95%CI=0.16-0.81)
Description
viii, 96 leaves ; 30 cm.