Data visualization for building and housing tax imposition : case study in Bangkok area
Issued Date
2024
Copyright Date
2017
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ix, 29 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thematic Paper (M.Sc. (Information Technology Management))--Mahidol University, 2017
Suggested Citation
Thitipon Jingjit Data visualization for building and housing tax imposition : case study in Bangkok area. Thematic Paper (M.Sc. (Information Technology Management))--Mahidol University, 2017. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92391
Title
Data visualization for building and housing tax imposition : case study in Bangkok area
Alternative Title(s)
การทำทัศนภาพของข้อมูลการจัดเก็บภาษีโรงเรือน : กรณีศึกษาเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร
Author(s)
Abstract
Recently, the analytical technology has become more advanced leading to this research as an integration of the Business Intelligence (BI) and Geographic Information System (GIS) for analyzing housing tax income for government. The used data were separated by district and sub-district from 2005 to 2016. The information included tax amount and tax values which should benefit for planning the information, officer system, budget management and current tax income. The amount of tax income depends on many factors, such as disaster and new business activity. Not only government unit could have benefited data for analyzing and developing system but also private sector could accompany in this project. In the future, this system may acquire more coverage data to get a deeper analytic insight.
ปัจจุบันเทคโนโลยีการวิเคราะห์ข้อมูลการมีความก้าวหน้ามากขึ้นนำ ไปสู่งานวิจัยนี้ที่ บูรณาการ ระบบธุรกิจอัจฉริยะ (BI) และ ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (GIS) สำหรับการ วิเคราะห์รายได้ภาษีโรงเรือนของกรุงเทพมหานคร ข้อมูลภาษีโรงเรือนที่ใช้ในการวิจัยเป็นข้อมูล ปริมาณและจำนวนภาษีที่ถูกจัดเก็บระหว่างปี 2005 - 2016 ที่แบ่งข้อมูลเป็นระดับเขตและระดับ แขวง เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการวางแผนในการบริหารงาน การบริหารงบประมาณ การเกิดภัย พิบัติและการใช้ประโยชน์ในเชิงธุรกิจของโรงเรือนในพื้นที่มีผลกระทบโดยตรงต่อการเปลี่ยนแปลง ของจำนวนภาษีโรงเรือนที่เก็บจากเจ้าของโรงเรือน ไม่เพียงแค่หน่วยงานภาครัฐเท่านั้นที่จะได้รับ ประโยชน์ในการวิเคราะห์ข้อมูลและการพัฒนาระบบนี้แต่อาจผลที่ได้อาจมีประโยชน์ต่อภาคธุรกิจ ในการประกอบการ โดยในอนาคตหากระบบที่ถูกพัฒนาขึ้นมานี้มีข้อมูลที่ครอบคลุมมากขึ้นระบบ จะสามารถแสดงการวิเคราะห์เชิงลึกได้เพิ่มขึ้น
ปัจจุบันเทคโนโลยีการวิเคราะห์ข้อมูลการมีความก้าวหน้ามากขึ้นนำ ไปสู่งานวิจัยนี้ที่ บูรณาการ ระบบธุรกิจอัจฉริยะ (BI) และ ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (GIS) สำหรับการ วิเคราะห์รายได้ภาษีโรงเรือนของกรุงเทพมหานคร ข้อมูลภาษีโรงเรือนที่ใช้ในการวิจัยเป็นข้อมูล ปริมาณและจำนวนภาษีที่ถูกจัดเก็บระหว่างปี 2005 - 2016 ที่แบ่งข้อมูลเป็นระดับเขตและระดับ แขวง เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการวางแผนในการบริหารงาน การบริหารงบประมาณ การเกิดภัย พิบัติและการใช้ประโยชน์ในเชิงธุรกิจของโรงเรือนในพื้นที่มีผลกระทบโดยตรงต่อการเปลี่ยนแปลง ของจำนวนภาษีโรงเรือนที่เก็บจากเจ้าของโรงเรือน ไม่เพียงแค่หน่วยงานภาครัฐเท่านั้นที่จะได้รับ ประโยชน์ในการวิเคราะห์ข้อมูลและการพัฒนาระบบนี้แต่อาจผลที่ได้อาจมีประโยชน์ต่อภาคธุรกิจ ในการประกอบการ โดยในอนาคตหากระบบที่ถูกพัฒนาขึ้นมานี้มีข้อมูลที่ครอบคลุมมากขึ้นระบบ จะสามารถแสดงการวิเคราะห์เชิงลึกได้เพิ่มขึ้น
Description
Information Technology Management (Mahidol University 2017)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Engineering
Degree Discipline
Information Technology Management
Degree Grantor(s)
Mahidol University