การวิเคราะห์ภาษาและค่านิยมทางการศึกษาที่สะท้อนในสื่อสิ่งพิมพ์ของโรงเรียนกวดวิชา
Issued Date
2557
Copyright Date
2557
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
[ก]-ญ, 193 แผ่น
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการสื่อสารและการพัฒนา))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2557
Suggested Citation
จินตนา แซ่เอี๊ยว การวิเคราะห์ภาษาและค่านิยมทางการศึกษาที่สะท้อนในสื่อสิ่งพิมพ์ของโรงเรียนกวดวิชา. วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการสื่อสารและการพัฒนา))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2557. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/93447
Title
การวิเคราะห์ภาษาและค่านิยมทางการศึกษาที่สะท้อนในสื่อสิ่งพิมพ์ของโรงเรียนกวดวิชา
Alternative Title(s)
An analysis of language and educational values reflected in tutorial school print media
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ลักษณะการใช้ภาษาเพื่อโน้มน้าวใจและค่านิยมทางการศึกษาที่สะท้อนในสื่อสิ่งพิมพ์ของโรงเรียนกวดวิชาในย่านสยามสแควร์ ใช้การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) โดยใช้สถิติเชิงพรรณนาแจกแจงความถี่และร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า สื่อสิ่งพิมพ์ของโรงเรียนกวดวิชามีการใช้ภาษาเพื่อการโน้มน้าวใจด้วยวัจนภาษา ในการใช้กลวิธีการเขียนจูงใจที่พบมากที่สุดคือ การเสอนความเห็น ร้อยละ 79.41 รองลงมาคือ การอ้างหลักฐาน ร้อยละ 78.43 และการวิเคราะห์เหตุผล ร้อยละ 64.71 ในด้านการใช้คำที่พบมากที่สุดคือ การใช้คำย่อ ร้อยละ 98.04 รองลงมาคือ การใช้คำทับศัพท์ ร้อยละ 97.06 และการใช้คำเฉพาะกลุ่มและคำเร้าความสนใจ ร้อยละ 95.10 และมีการใช้โวหารต่าง ๆ เพื่อโน้มน้าวจูงใจ ที่พบมากที่สุดคือ อุปลักษณ์ร้อยละ 24.51 รองลงมาคือ สัญลักษณ์ ร้อยละ 10.78 และอุปมารอยละ 9.80 ในด้านอวัจนภาษา พบการใช้ภาพประกอบที่พบมากที่สุดคือ ภาพสัญญลักษณ์ ร้อยละ 94.12 รองลงมาคือ ภาพกราฟิก ร้อยละ 80.39 และ ภาพผู้สอน ร้อยละ 68.63 ด้านการใช้สีมักใช้สีที่หลากหลาย ทั้งโทนร้อน โทนเย็น และ ขาว-ดำ และมักใช้สีโทนร้อนตัดกันกับข้อความที่ต้องการเน้นย้ำ ด้านรูปแบบตัวอักษรที่พบมากที่สุดคือ แบบหัวตัด และ แบบ Sans Serif แสดงความเรียบง่ายและทันสมัย ค่านิยมทางการศึกษาที่พบมากที่สุดคือ การศึกษาคือการแข่งขัน ร้อยละ 58.82 รองลงมาคือ การให้ความสำคัญกับการศึกษาที่เกี่ยวกับต่างประเทศ ร้อยละ 13.73 และนิยมการเรียนการสอนที่ง่ายสะดวกรวดเร็ว ร้อยละ 11.77 ตามลำดับ
This research aims to analyze the use of persuasive language and educational values reflected in tutorial school print media using a quantitative content analysis approach. The results were presented in terms of descriptive statistics consisting of frequency and percentage. The result showed that the verbal language for persuasive strategies most frequently used in tutorial school print media were assertions (79.41%), appeals to authority (78.43%) and causal analysis (64.71%). The types of words used were mostly abbreviations (98.04%), English loan-words (97.06%), jargon and emotive words (95.10%). The most frequently used figures of speech were metaphors (24.51%), symbols (10.78%) and similes (9.80%). In terms of non-verbal usage, it was mostly illustrations including pictures of symbols (94.12%), graphics (80.39%) and tutors (68.63%). The colors used were various bright colors and complementary colors of warm tone to highlight texts, cool tone, including black and white tones. The font character most frequently found was Sans Serif to illustrate simple, modern and less formal feelings. Importantly, educational values were education competition (58.82%), the emphasis on international education (13.73%), and popularity of easy and convenient instruction (11.77%), which were also reflected in these print media.
This research aims to analyze the use of persuasive language and educational values reflected in tutorial school print media using a quantitative content analysis approach. The results were presented in terms of descriptive statistics consisting of frequency and percentage. The result showed that the verbal language for persuasive strategies most frequently used in tutorial school print media were assertions (79.41%), appeals to authority (78.43%) and causal analysis (64.71%). The types of words used were mostly abbreviations (98.04%), English loan-words (97.06%), jargon and emotive words (95.10%). The most frequently used figures of speech were metaphors (24.51%), symbols (10.78%) and similes (9.80%). In terms of non-verbal usage, it was mostly illustrations including pictures of symbols (94.12%), graphics (80.39%) and tutors (68.63%). The colors used were various bright colors and complementary colors of warm tone to highlight texts, cool tone, including black and white tones. The font character most frequently found was Sans Serif to illustrate simple, modern and less formal feelings. Importantly, educational values were education competition (58.82%), the emphasis on international education (13.73%), and popularity of easy and convenient instruction (11.77%), which were also reflected in these print media.
Description
ภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการสื่อสารและการพัฒนา (มหาวิทยาลัยมหิดล 2557)
Degree Name
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
Degree Discipline
ภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการสื่อสารและการพัฒนา
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล