การนำแนวคิดแบบตำรวจชุมชน (community policing) มาประยุกต์ใช้ในการป้องกันปัญหาอาชญากรรมในเขตเมือง : กรณีศึกษาชุมชนในเขตรับผิดชอบของสถานีตำรวจนครบาลบางขุนเทียน และบางบอน
Issued Date
2556
Copyright Date
2556
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ก-ญ, 125 แผ่น
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2556
Suggested Citation
ยุทธภูมิ ฝอยทอง การนำแนวคิดแบบตำรวจชุมชน (community policing) มาประยุกต์ใช้ในการป้องกันปัญหาอาชญากรรมในเขตเมือง : กรณีศึกษาชุมชนในเขตรับผิดชอบของสถานีตำรวจนครบาลบางขุนเทียน และบางบอน. วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2556. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/93575
Title
การนำแนวคิดแบบตำรวจชุมชน (community policing) มาประยุกต์ใช้ในการป้องกันปัญหาอาชญากรรมในเขตเมือง : กรณีศึกษาชุมชนในเขตรับผิดชอบของสถานีตำรวจนครบาลบางขุนเทียน และบางบอน
Alternative Title(s)
Applied the concept of the community policing to crime prevention in urban areas : a case study of Bang Khun Thian and Bang Bon
Author(s)
Abstract
การศึกษาเรื่องการนำแนวคิดแบบตำรวจชุมชน (Community Policing) มาประยุกต์ใช้ในการ ป้ องกันปัญหาอาชญากรรมในเขตเมือง : กรณีศึกษาชุมชนในเขตรับผิดชอบของสถานีตำรวจนครบาลบางขุนเทียน และบางบอน การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวความคิด รูปแบบและวิธีการเกี่ยวกับตำรวจชุมชน (Community Policing) ที่มีการดำเนินการอยู่ในปัจจุบัน รวมทั้งความเป็ นไปได้ของการที่จะนำแนวคิดแบบ Community Policing มาประยุกต์ใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาอาชญากรรมในสังคมเมืองในอนาคต การ ศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) ซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งของการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งได้เก็บรวบรวมข้อมูลจาก คณะกรรมการชุมชนในเขตทั้งสองเขตดังกล่าวรวมทั้งสิ้น 200 ราย นอกจากนั้นแล้วยังใช้วิธีการศึกษาวิจัยในเชิง คุณภาพมาสนับสนุนการการวิจัยครั้งนี้อีกส่วนหนึ่งโดยเฉพาะในส่วนของการอภิปรายผลการวิจัย คือใช้วิธีการ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกจากเจ้าหน้าที่ตำรวจที่มีประสบการณ์ในการทำงานทางด้านตำรวจ ชุมชนสัมพันธ์มาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี เขตละประมาณ 5-8 ราย ผลจากการวิจัยครั้งนี้พบว่า สมมติฐานที่กำหนดเอาไว้ได้รับการยอมรับกล่าวคือ เมื่อได้ทดสอบ ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางด้านพื้นที่ที่คณะกรรมการชุมชนอาศัยอยู่ทั้งสองเขตกับปัจจัยทางด้านความรู้ความ เข้าใจเกี่ยวกับกลยุทธ์แบบตำรวจชุมชน รวมทั้งปัจจัยทางด้านรูปแบบที่เหมาะสมของกลยุทธ์แบบตำรวจชุมชนที่ ควรจะนำมาใช้ในชุมชนในอนาคต โดยใช้สถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One - way Analysis of variance) แล้วพบว่า กลุ่มตัวอย่างหรือคณะกรรมการชุมชนบางขุนเทียนมีค่าเฉลี่ยของความรู้ความเข้าใจกลยุทธ์ หรือแนวคิดแบบตำรวจชุมชน รวมทั้งรูปแบบที่เหมาะสมของกลยุทธ์แบบตำรวจชุมชนที่ควรจะนำมาใช้ในชุมชน มากกว่าคณะกรรมการชุมชนในเขตพื้นที่บางบอน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
This study was to investigate the concept, model, and methods of community policing as currently applied and the feasibility of implementing it for crime prevention in urban areas in future. Quantitative research was employed by using a questionnaire as a tool for data collection. Data were collected from 200 community board members of both police commands. Qualitative research was also applied to support this investigation when discussing the findings. Data collection was done through in-depth interviews conducted with 5-8 police personnel with not less than two years experience in community relations from each police command. The results revealed that the hypotheses were accepted. Testing the relationships among residential factors of both police commands where the community board members were living, factors of community policing, and strategic cognitive factors of community policing revealed the appropriate model to be applied in urban areas in future by employing One-way Analysis of Variance (One-way ANOVA). It was found that the police personnel and the community board members in Bang Khun Thian Command had average values for the strategic cognitive factors and the appropriate community policing model to be applied in urban areas in future had greater knowledge than the community board members in Bang Bon Command with statistical significance.
This study was to investigate the concept, model, and methods of community policing as currently applied and the feasibility of implementing it for crime prevention in urban areas in future. Quantitative research was employed by using a questionnaire as a tool for data collection. Data were collected from 200 community board members of both police commands. Qualitative research was also applied to support this investigation when discussing the findings. Data collection was done through in-depth interviews conducted with 5-8 police personnel with not less than two years experience in community relations from each police command. The results revealed that the hypotheses were accepted. Testing the relationships among residential factors of both police commands where the community board members were living, factors of community policing, and strategic cognitive factors of community policing revealed the appropriate model to be applied in urban areas in future by employing One-way Analysis of Variance (One-way ANOVA). It was found that the police personnel and the community board members in Bang Khun Thian Command had average values for the strategic cognitive factors and the appropriate community policing model to be applied in urban areas in future had greater knowledge than the community board members in Bang Bon Command with statistical significance.
Description
อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม (มหาวิทยาลัยมหิดล 2556)
Degree Name
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
Degree Discipline
อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล