Comparison of OAEs screening and clinical audiometry in diabetic patients without hearing symptom

dc.contributor.advisorKrisna Lertsukprasert
dc.contributor.advisorChatchalit Rattarasarn
dc.contributor.advisorSakda Arj-Ong Vallibhakara
dc.contributor.authorWeeraya Charlee
dc.date.accessioned2024-01-25T04:06:55Z
dc.date.available2024-01-25T04:06:55Z
dc.date.copyright2015
dc.date.created2024
dc.date.issued2015
dc.descriptionCommunication Disorders (Mahidol University 2015)
dc.description.abstractThe main objectives of this study was to evaluate the efficiency of otoacoustic emission (OAE) screening for both transient evoked otoacoustic emissions (TEOAEs) and distortion product otoacoustic emissions (DPOAEs) and to assess the hearing screening, compared with clinical audiometry in 142 diabetic patients without hearing symptoms (71 females and 71 males, aged 30-60 years old), who visited the out-patient endocrine clinic at Ramathibodi Hospital, Bangkok. They were not suspected to have outer and/or middle ear problems. The general information and medical history of all subjects were collected before the OAE screening and clinical audiometry tests. All data were analyzed using STATA 13.0 software (College Station, TX, USA). The results showed that the sensitivity of TEOAEs was 27% and 29%, while the specificity was 96% and 92% in right and left ears, respectively. The accuracy was 50% and 69%, positive predictive value (PPV) was 93% and 87% in right and left ears, respectively, and negative predictive value (NPV) was 40% in both ears. The positive likelihood ratio (LR+) was 6.85 and 3.63, and negative likelihood ratio (LR-) was 0.75 and 0.77 in right and left ears, respectively. The sensitivity of DPOAEs was 66% and 69%, and its specificity was 89% and 83% in right and left ears, respectively, with an accuracy of 74% in both ears. The PPV was 93% and 89%, NPV was 57% and 58%, LR+ was 6.00 and 4.06, and LR- was 0.38 and 0.37 in right and left ears, respectively. In summary, the DPOAEs were more efficient for the detection of hearing impairment in diabetic patients than TEOAEs. Moreover, the test was simple, fast, and costs less, and could be used by non-professional personnel.
dc.description.abstractวัตถุประสงค์หลักของการศึกษาในครั้งนี้เพื่อประเมินประสิทธิภาพของเครื่องมือคัดกรองการได้ยิน ทั้ง transient evoked otoacoustic emissions (TEOAEs) และ distortion product otoacoustic emissions (DPOAEs) ในการช่วยตรวจพบปัญหาด้านการได้ยินโดยเปรียบเทียบกับผลตรวจการได้ยินทางคลินิก ในผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่แสดงอาการด้านการได้ยิน จำนวน 142 คน (หญิง 71 คน, ชาย 71 คน,อายุระหว่าง 30-60 ปี) ที่มารับการรักษาที่คลินิกโรคเบาหวาน โรงพยาบาลรามาธิบดี กรุงเทพมหานคร และไม่มีสิ่งที่แสดงว่าอาจมีความผิดปกติของหูชั้นนอกและ/หรือหูชั้นกลาง ในการศึกษาครั้งนี้ผู้เข้าร่วมวิจัยจะต้องตอบแบบสอบถามข้อมูลทั่วไปและประวัติการรักษา ก่อนที่จะได้รับการตรวจคัดกรองการได้ยินและตรวจการได้ยินทางคลินิก การวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป STATA 13.0 software (College Station, TX, USA) ผลการศึกษาพบว่า TEOAEs มีความไวในการตรวจพบปัญหาด้านการได้ยินในหูขวาและหูซ้ายร้อยละ 27,29 มีความจำเพาะร้อยละ 96,92 มีความความแม่นยำร้อยละ50,69 มีค่าพยากรณ์บวกร้อยละ93,87 มีค่าพยากรณ์ลบร้อยละ 40 ในหูทั้งสองข้าง มีค่า Positive likelihood ratio 6.85,3.63 และค่า Negative likelihood ratio 0.75,0.77 ในหูขวาและหูซ้ายตามลำดับในขณะที่ DPOAEs มีความไวร้อยละ 66,69 มีความจำเพาะร้อยละ 89,83 ในหูขวาและหูซ้ายตามลำดับ มีความความแม่นยำร้อยละ74 ในหูทั้งสองข้าง มีค่าพยากรณ์บวกร้อยละ93,89 มีค่าพยากรณ์ลบร้อยละ 57,58 มีค่า Positive likelihood ratio 6.00,4.06 และค่า Negative likelihood ratio 0.38, 0.37ในหูขวาและหูซ้ายตามลำดับ จากผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า DPOAEs เป็นการตรวจคัดกรองการได้ยินมีประสิทธิภาพในการช่วยตรวจพบปัญหาด้านการได้ยินในผู้ป่วยเบาหวานดีกว่า TEOAEs และยังเป็นการตรวจที่ทำได้ง่าย ใช้เวลาน้อย ราคาไม่แพง และไม่จำเป็นต้องอาศัยบุคลากรที่มีความรู้เฉพาะด้านในการตรวจคัดกรอง
dc.format.extentviii ,84 leaves
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationThesis (M.Sc. (Communication Disorders))--Mahidol University, 2015
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/94042
dc.language.isoeng
dc.publisherMahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderMahidol University
dc.subjectAudiometry
dc.subjectDiabetic
dc.subjectOtoacoustic emissions
dc.titleComparison of OAEs screening and clinical audiometry in diabetic patients without hearing symptom
dc.title.alternativeการศึกษาเปรียบเทียบการตรวจคัดกรองการได้ยินและการตรวจการได้ยินในผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่แสดงอาการด้านการได้ยิน
dc.typeMaster Thesis
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2557/cd498/5537600.pdf
thesis.degree.departmentFaculty of Medicine ramathibodi Hospital
thesis.degree.disciplineCommunication Disorders
thesis.degree.grantorMahidol University
thesis.degree.levelMaster's degree
thesis.degree.nameMaster of Science

Files