ระยะเวลาการสร้างภูมิต้านทานพิษคอตีบ ภายหลังการได้รับวัคซีนดีที สำหรับผู้ใหญ่ 1 ครั้ง ในเด็กนักเรียนชั้นประถมปีที่ 1 อำเภอมโนรมย์ จังหวัดชัยนาท

dc.contributor.authorวรัญญา แสงเพ็ชรส่องen_US
dc.contributor.authorศุภชัย ฤกษ์งามen_US
dc.contributor.authorสุเนตร แสงม่วงen_US
dc.contributor.authorธวัชชัย วรพงศธรen_US
dc.contributor.authorกานดา วัฒโนภาสen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาจุลชีววิทยา.en_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาชีวสถิติ.en_US
dc.date.accessioned2016-02-24T02:53:22Z
dc.date.accessioned2021-09-15T16:05:44Z
dc.date.available2016-02-24T02:53:22Z
dc.date.available2021-09-15T16:05:44Z
dc.date.created2559-02-11
dc.date.issued2534
dc.descriptionเอกสารประกอบการประชุม การประชุมวิชาการสาธารณสุขแห่งชาติ ครั้งที่ 5 คุณภาพชีวิตไทยที่พึงปรารถนา: แนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน, วันที่ 18-20 ธันวาคม 2534 ณ โรงแรมเอเซีย กรุงเทพฯ. กรุงเทพฯ: คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล; 2534. หน้า 256.en
dc.description.abstractนักเรียนชั้นประถมปีที่ 1 ที่อำเภอมโนรมย์ จังหวัดชัยนาท จาก 31 โรงเรียนใน 7 ตำบล จำนวน 525 ราย ซึ่งเลือกเฉพาะผู้มีระดับแอนติบอดีท็อกซินคอตีบต่ำกว่าป้องกันโรค (<0.5 หน่วยสากล/มล.) จำนวน 112 ราย มาทำการศึกษาผลการตอบสนองทางอิมมูนภายหลังการได้รับวัคซีนดีที (DT) 1 ครั้ง 7 วัน และ 14 วัน ตามลำดับ ได้ทำการศึกษาระหว่างเดือนมิถุนายน พ.ศ.2530 ถึง กุมภาพันธ์ 2531 พบว่า ภายหลังการได้รับวัคซีนแล้วระดับแอนติท็อกซินต่อคอตีบไม่เพียงแต่ขึ้นสูงอย่างมีนัยสำคัญเท่านั้น แต่หลัง 14 วันยังสูงกว่า 7 วัน โดยที่แอนติท็อกซินโดยเฉลี่ยเพิ่มจาก 0.22+1055 เป็น 0.48+2.36 และ 1.46+2.88 หน่วยสากล/มล. นัวนที่ 7 และ 14 ตามลำดับ อัตราของเด็กนักเรียนคุ้มกันต่อโรคและปลอดภัยจากโรคคอตีบเป็นร้อยละ 51.8, 86.6 และ 17.9 65.2 ตามลำดับ ภายหลังการได้รับวัคซีนดีที 7 และ 14 วัน ประวัติการได้รับวัคซีนไม่มีผลกระทบต่อการตอบสนองทางอิมมูน ยกเว้นประวัติการได้รับวัคซีนเมื่ออายุ 1 ½ ปี และภายหลังได้รับวัคซีนดี 14 วัน เพศหญิงมีระดับแอนติท็อกซินสูงกว่าเพศชายอย่างมีนัยสำคัญนอกจากนี้แล้วภาวะทางโภชนาการ ประวัติการเจ็บป่วยภายในรอบ 12 เดือน ไม่มีผลกระทบต่อระดับแอนติท็อกซินต่อคอตีบ จากผลการศึกษาที่พบครั้งนี้ แสดงให้เห็นว่าการให้ดีทีระหว่างมีการระบาดของโรคคอตีบสามารถควบคุมโรคได้ เพราะช่วงระยะฟักตัวของโรค ร่ายการสามารถสร้างภูมิต้านทานทำให้คุ้มกันโรคได้ประมาณร้อยละ 50 อย่างไรก็ตามแนวทางที่ดีที่สุดในการควบคุมโรคคือการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานตามลำดับและมีข้อสังเกตควรได้รับเข็มกระตุ้นอย่างน้อยที่สุด 1 ครั้งเมื่ออายุ 1 ½ ปีen_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/63549
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectคอตีบen_US
dc.subjectจังหวัดชัยนาทen_US
dc.subjectเด็กนักเรียนชั้นประถมen_US
dc.subjectวัคซีนen_US
dc.titleระยะเวลาการสร้างภูมิต้านทานพิษคอตีบ ภายหลังการได้รับวัคซีนดีที สำหรับผู้ใหญ่ 1 ครั้ง ในเด็กนักเรียนชั้นประถมปีที่ 1 อำเภอมโนรมย์ จังหวัดชัยนาทen_US
dc.typeProceeding Abstracten_US

Files

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Plain Text
Description: