กระบวนการเป็นโคโยตี้บอยในประเทศไทย
Issued Date
2556
Copyright Date
2556
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ก-ฌ, 146 แผ่น
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2556
Suggested Citation
ณัฐพสิษฐ์ ต้อยเที่ยง กระบวนการเป็นโคโยตี้บอยในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2556. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/93555
Title
กระบวนการเป็นโคโยตี้บอยในประเทศไทย
Alternative Title(s)
Processization of Coyote boys in Thailand
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการ แรงจูงใจ สภาพแวดล้อม และ/หรือ เงื่อนไข ที่มีอิทธิพลต่อการผลักดัน ให้ผู้ชายเข้าสู่การประกอบอาชีพโคโยตี้บอย และศึกษาถึงปัญหาและ ผลกระทบของโคโยตี้บอยที่มีต่อสังคมไทย เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยผู้วิจัยได้ทำการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 10 คน ซึ่งเป็นผู้ประกอบอาชีพโคโยตี้บอยในสถานบันเทิงที่มีชื่อเสียงย่านพัฒน์พงษ์ กรุงเทพมหานคร จำนวน 5 คน และย่านพัทยา จังหวัดชลบุรี จำนวน 5 คน ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มคนที่เข้ามาประกอบอาชีพโคโยตี้บอยมักเป็นคนที่มีรูปร่างหน้าตาดี มี ร่างกายกำยำ เป็นคนร่าเริง กลุ่มคนเหล่านี้ขาดความผูกพันกับคนในครอบครัว ไม่มีแรงยึดเหนี่ยวหรือพันธะกับ ครอบครัว แรงผลักดันในการเข้าสู่อาชีพโคโยตี้บอยคือความต้องการมีเงินจำนวนมาก การมีรายได้จำนวนมาก ทำให้เกิดความรู้สึกว่าตนเองทัดเทียมกับคนอื่นใน และการชักชวนจากเพื่อนที่ประกอบอาชีพนี้อยู่แล้ว สภาพ ปัญหาและผลกระทบของโคโยตี้บอยต่อสังคมผู้ประกอบอาชีพนี้ไม่ได้ก่อให้เกิดปัญหาอาชญากรรมหรืออย่าง ใด แต่เป็นเพียงกลุ่มคนที่หันมาประกอบอาชีพนี้เพื่อต้องการเงิน และต้องการกินอยู่อย่างสบาย หรือได้รับการ ยอมรับจากบุคคลภายนอก ไม่ถูกรังเกียจหรือดูถูกว่ายากจน บุคคลเหล่านี้ไม่ต้องการประกอบอาชีพที่ผิด กฎหมาย แต่เลือกที่จะใช้ร่างกายของตนเองในการสร้างรายได้โดยไม่เดือดร้อนคนอื่น ๆ ในสังคม และมอง ประโยชน์เพื่อตนเอง ไม่ได้มองประโยชน์เพื่อสังคมแต่อย่างใด ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัย รัฐควรมีมาตรการที่ชัดเจนในการบริหารจัดการเกี่ยวกับอาชีพที่ เกิดขึ้นในสถานบันเทิงต่างๆ ของประเทศ การลดหรือป้ องกันการเข้าสู่การเป็นโคโยตี้บอยควรเริ่มที่ครอบครัว ปลูกฝังค่านิยม บรรทัดฐานและแนวทางที่ถูกต้องให้กับเด็กและเยาวชน ควรเน้นนโยบายและให้ความรู้เรื่อง การมีเพศสัมพันธ์ เพราะในกลุ่มของโคโยตี้บอยมีเพศสัมพันธ์ในทุกเพศ การป้องกันตนเองจึงเป็นเรื่องที่ควร ต้องรณรงค์ให้มาก
This qualitative research was conducted to investigate the process, incentive, surroundings and existing conditions driving men towards coyote boy occupation as well as study problems and impacts on Thai society. A total of 10 samples selected 5 each from the well-known cabaret at Patpong, Bangkok Metropolis and Pattaya, Cholburi Province. The research findings revealed that the vast majority of coyote boys had a nice appearance with muscular body and cheerful attitude. These coyote boys had no ties, bonds or obligations with their families. The driving force behind coyote boy entering this occupation was the desire of having lots of money from huge earnings to raise their social statuses as well as being solicited by friends in this occupation. However, the problems and impacts from being coyote boys had not caused any social nuisances or crimes since the group intention was making easy money for comfortable living or gaining acceptance from society without looking down or insulting them as poor. These coyote boys had no intentions to break the law; instead they choose to earn their livings by displaying their own bodies truly for own benefits, not to benefit or disturb society members. This research recommends the government to regulate definite measures for existing occupations in the cabarets throughout the nation. The reduction or prevention of youth entering coyote boy occupation should start first with the families, instilling values, norms and guidelines with the focus on policies and knowledge on sexual relations, particularly the campaign on self-protection.
This qualitative research was conducted to investigate the process, incentive, surroundings and existing conditions driving men towards coyote boy occupation as well as study problems and impacts on Thai society. A total of 10 samples selected 5 each from the well-known cabaret at Patpong, Bangkok Metropolis and Pattaya, Cholburi Province. The research findings revealed that the vast majority of coyote boys had a nice appearance with muscular body and cheerful attitude. These coyote boys had no ties, bonds or obligations with their families. The driving force behind coyote boy entering this occupation was the desire of having lots of money from huge earnings to raise their social statuses as well as being solicited by friends in this occupation. However, the problems and impacts from being coyote boys had not caused any social nuisances or crimes since the group intention was making easy money for comfortable living or gaining acceptance from society without looking down or insulting them as poor. These coyote boys had no intentions to break the law; instead they choose to earn their livings by displaying their own bodies truly for own benefits, not to benefit or disturb society members. This research recommends the government to regulate definite measures for existing occupations in the cabarets throughout the nation. The reduction or prevention of youth entering coyote boy occupation should start first with the families, instilling values, norms and guidelines with the focus on policies and knowledge on sexual relations, particularly the campaign on self-protection.
Description
อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม (มหาวิทยาลัยมหิดล 2556)
Degree Name
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
Degree Discipline
อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล