High-performance liquid chromatography for determination of phenyltin compounds

dc.contributor.advisorChatvalee Kalambaheti
dc.contributor.advisorPrapin Wilairat
dc.contributor.advisorYuwadee Shiowattana
dc.contributor.advisorPornsawan Visoottiviseth
dc.contributor.authorNattasuda Sakulpaisith
dc.date.accessioned2024-09-04T03:11:39Z
dc.date.available2024-09-04T03:11:39Z
dc.date.copyright1995
dc.date.created1995
dc.date.issued2024
dc.descriptionApplied Analytical and Inorganic Chemistry (Mahidol University 1995)
dc.description.abstractOrganotin compounds are achieving worldwide prominence in many industrial and agricultural applications. As a result, there are a variety of pathways for their entry into the environment and thus they are of high environmental and toxicological interest. This work described the separation and determination of mono-, di- and triphenyltin compounds using reverscdphase column with mobile phase comprising a mixture of 0.01 M phosphoric acid and methanol(20:80, v/v) with UV absorbance detection at 214 nm or by spectrofluorometry after post-column reaction with morin or 3-hydroxyflavone in Triton X-100 micellar solution. The influence of various parameters such as the percentage of organic modifier and the ionic strength of the acid have been examined. Analytical methods for the determination of these compounds at the trace and ultra trace levels are described for both direct injection and preconcentration modes. Detection limit in the range 40-400 ppb and 1.5-250 ppb were obtained from the UV absorbance and spectrofluorometric detection systems, respectively. The spectrofluorometric method was applied to the determination of triphenyltin compound in water from fish tank and sea-water samples after a preconcentration step using solid-phase extraction on C-18 cartridge. The optimum elution and wash volume were investigated. This procedure gave recovery of over 90%. The relative standard deviation ranged from 0.68-4.68%.
dc.description.abstractปัจจุบันสารประกอบดีบุกอินทรีย์ ถูกนำมาใช้อย่าง กว้างขวางทั้งในด้านอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม โดยเหตุนี้ โอกาสที่สารประกอบดังกล่าวจะแพร่กระจายเข้าสู่สิ่งแวดล้อม จึงเป็นไปได้โดยง่าย ทำให้เกิดปัญหาการตกค้างของสารกลุ่มนี้ ในสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะเป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ใน สิ่งแวดล้อมนั้น งานวิจัยนี้กล่าวถึง การวิเคราะห์สารประกอบดีบุก อินทรีย์ชนิดโมโน-, ได-, และไตรฟีนิลทิน โดยใช้คอลัมน์ชนิด รีเวอร์สเฟส ที่มีสารละลายผสมกรดฟอสฟอริกความเข้มข้น 0.01 โมลาร์และเมธานอลในอัตราส่วน 20:80 เปอร์เซนต์ เป็นวัฎภาค เคลื่อนที่ ร่วมกับเครื่องตรวจวัดชนิดยูวี-สเปกโทรโฟโตเมตรี ที่ความยาวคลื่น 214 นาโนเมตร หรือสเปกโทรฟลูออโรเมตรี หลังจากที่สารประกอบดังกล่าวทำปฏิกิริยากับมอร์ริน หรือกับ 3-ไฮดรอก-ซีฟลาโวน เกิดเป็นสารประกอบเชิงซ้อนที่เรืองแสงได้ การวิเคราะห์สารประกอบดังกล่าวในระดับความเข้มข้นต่ำ กระทำทั้งโดยระบบการวิเคราะห์โดยตรงและการทำให้สารเข้มข้น ขึ้นก่อนการวิเคราะห์ ขีดจำกัดของการตรวจหามีค่าอยู่ระหว่าง 40-400 ส่วนในพันล้านส่วน สำหรับระบบตรวจวัดชนิดยูวี-สเปก โทรโฟโตเมตรี และ 1.5-250 ส่วนในพันล้านส่วน สำหรับระบบ ตรวจวัดชนิดสเปกโทรฟลูออโรเมตรี ระบบตรวจวัดชนิดสเปกโทรฟลูออโรเมตรี ถูกประยุกต์ใช้ ในการตรวจวัดสารประกอบชนิดไตรฟีนิลทิน ในตัวอย่างน้ำเลี้ยง ปลาและน้ำทะเล ร่วมกับเทคนิคการสกัดแบบของแข็ง-ของเหลว บนคอลัมน์ชนิด C-18 ผลการวิเคราะห์ให้ค่าประสิทธิภาพของการ สกัด สูงกว่า 90 เปอร์เซนต์ และค่าความเที่ยงอยู่ในช่วง 0.68-4.68 เปอร์เซนต์
dc.format.extentxv, 101 leaves : ill.
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationThesis (M.Sc. (Applied Analytical and Inorganic Chemistry))--Mahidol University, 1995
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/100854
dc.language.isoeng
dc.publisherMahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderMahidol University
dc.subjectHigh performance liquid chromatography
dc.subjectOrganotin compounds
dc.subjectSpectrometry, Fluorescence
dc.titleHigh-performance liquid chromatography for determination of phenyltin compounds
dc.title.alternativeการวิเคราะห์สารประกอบดีบุกอินทรีย์ชนิดฟีนิลทินโดยเทคนิคไฮเปอร์ฟอร์มานซ์ลิควิดโครมาโทกราฟฟี
dc.typeMaster Thesis
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/scan/10416584.pdf
thesis.degree.departmentFaculty of Science
thesis.degree.disciplineApplied Analytical and Inorganic Chemistry
thesis.degree.grantorMahidol University
thesis.degree.levelMaster's degree
thesis.degree.nameMaster of Science

Files