Determination of transition metals by high performance liquid chromatography
Issued Date
1998
Copyright Date
1998
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xiii, 75 leaves : ill.
ISBN
9746612298
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Applied Analytical and Inorganic Chemistry))--Mahidol University, 1998
Suggested Citation
Nitithep Chaichuay Determination of transition metals by high performance liquid chromatography. Thesis (M.Sc. (Applied Analytical and Inorganic Chemistry))--Mahidol University, 1998. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/103524
Title
Determination of transition metals by high performance liquid chromatography
Alternative Title(s)
การวิเคราะห์เชิงปริมาณของโลหะแทรนสิชันโดยเทคนิคไฮเปอร์ฟอร์มานลิควิดโครมาโทกราฟี
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
Ion-Interaction Chromatography employing tartaric acid and octane sulfonic acid was developed for the separation of seven transition metal ions Cu2+, Zn2+, Ni2+, Co2+, Mn2+, Fe2+ and Fe3+ on reversed-phase C-18 column. 4-(2-pyridylazo)-resorcinol (PAR) was used as the post-column reagent with detection by UV-Visible absorbance at 520 nm. The results show that the seven metal ions can be separated in 20 minutes. The effect on the retention behavior of ion-interaction reagent (IIR) concentration, tartaric acid concentration, pH of the mobile phase, the addition of organic modifier and the solvent of metal ions were studied. The system was applied to the determination of Fe3+ and Fe2+ in iron supplementary tablets. Total amount of iron by using ascorbic acid as a reducing agent, which converted Fe3+ to Fe2+, was also measured and compared with the results for direct injection. The results show no significant differences between both methods. This method was also applied to analyse metal ions in river water.
งานวิจัยนี้ได้พัฒนาเทคนิคไอออน-อินเตอร์แอคชัน โครมาโทกราฟี ซึ่งประกอบด้วย กรดทาทาริกและกรดออกเทนซัลโฟนิคสำหรับการแยกไอออนของโลหะแทรนสิชัน 7 ตัว คือ ทองแดง (II), สังกะสี (II), นิเกิล (II), โคบอลต์ (II), แมงกานีส (II), เหล็ก (II) และเหล็ก (III) บนคอลัมน์รีเวอร์สเฟสชนิด ซี-18 โดยใช้ 4-(2-ไพริไดเอโซ)- รีโซซินอล (พาร์) เป็นสารโพสคอลัมน์ โดยจะทำการตรวจวัดด้วยการดูดกลืนแสงยูวี- วิสิเบิลที่ความยาวคลื่น 520 นาโนเมตร ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าสามารถแยกไอออน ของโลหะทั้ง 7 ตัวภายในเวลา 20 นาที นอกจากนี้ยังมีการศึกษาเกี่ยวกับผลกระทบที่มี ต่อพฤติกรรมของการแยกอันเนื่องมาจาก ความเข้มข้นของสารไอออน-อินเตอร์แอกชัน, ความเข้มข้นของกรดทาทาริก, ค่าพีเอชของเฟสเคลื่อนที่, การเติมสารออกานิคกอดดิฟายร์เออร์ และจากตัวทำละลายของไอออนของโลหะด้วย งานวิจัยนี้ได้มาประยุกต์ใช้กับการวิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณของไอออนเหล็ก (II) และไอออนเหล็ก (III) ในยาเม็ดเสริมเหล็กด้วย การวัดปริมาณรวมของเหล็กทำได้โดย ใช้กรดแอสคอร์บิก ซึ่งเป็นสารรีดิวซ์เปลี่ยนไอออนเหล็ก (III) ให้กลายเป็นไอออนเหล็ก (II) และนำผลการทดลองที่ได้มาเปรียบเทียบกับวิธีฉีดโดยตรง ผลการทดลองแสดงให้ เห็นว่าไม่มีความแตกต่างที่เป็นนัยสำคัญระหว่างทั้งสองวิธีการทดลอง งานวิจัยนี้ยังได้ มาไปประยุกต์กับการวิเคราะห์ปริมาณของไอออนโลหะในน้ำจากแม่น้ำด้วย
งานวิจัยนี้ได้พัฒนาเทคนิคไอออน-อินเตอร์แอคชัน โครมาโทกราฟี ซึ่งประกอบด้วย กรดทาทาริกและกรดออกเทนซัลโฟนิคสำหรับการแยกไอออนของโลหะแทรนสิชัน 7 ตัว คือ ทองแดง (II), สังกะสี (II), นิเกิล (II), โคบอลต์ (II), แมงกานีส (II), เหล็ก (II) และเหล็ก (III) บนคอลัมน์รีเวอร์สเฟสชนิด ซี-18 โดยใช้ 4-(2-ไพริไดเอโซ)- รีโซซินอล (พาร์) เป็นสารโพสคอลัมน์ โดยจะทำการตรวจวัดด้วยการดูดกลืนแสงยูวี- วิสิเบิลที่ความยาวคลื่น 520 นาโนเมตร ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าสามารถแยกไอออน ของโลหะทั้ง 7 ตัวภายในเวลา 20 นาที นอกจากนี้ยังมีการศึกษาเกี่ยวกับผลกระทบที่มี ต่อพฤติกรรมของการแยกอันเนื่องมาจาก ความเข้มข้นของสารไอออน-อินเตอร์แอกชัน, ความเข้มข้นของกรดทาทาริก, ค่าพีเอชของเฟสเคลื่อนที่, การเติมสารออกานิคกอดดิฟายร์เออร์ และจากตัวทำละลายของไอออนของโลหะด้วย งานวิจัยนี้ได้มาประยุกต์ใช้กับการวิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณของไอออนเหล็ก (II) และไอออนเหล็ก (III) ในยาเม็ดเสริมเหล็กด้วย การวัดปริมาณรวมของเหล็กทำได้โดย ใช้กรดแอสคอร์บิก ซึ่งเป็นสารรีดิวซ์เปลี่ยนไอออนเหล็ก (III) ให้กลายเป็นไอออนเหล็ก (II) และนำผลการทดลองที่ได้มาเปรียบเทียบกับวิธีฉีดโดยตรง ผลการทดลองแสดงให้ เห็นว่าไม่มีความแตกต่างที่เป็นนัยสำคัญระหว่างทั้งสองวิธีการทดลอง งานวิจัยนี้ยังได้ มาไปประยุกต์กับการวิเคราะห์ปริมาณของไอออนโลหะในน้ำจากแม่น้ำด้วย
Description
Applied Analytical and Inorganic Chemistry (Mahidol University 1998)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of science
Degree Discipline
Applied Analytical and Inorganic Chemistry
Degree Grantor(s)
Mahidol University