การศึกษาแนวทางการปริวรรตวิถีชีวิตกสิกรชานเมือง

dc.contributor.advisorชิดชยางค์ ยมาภัย
dc.contributor.advisorพธู คูศรีพิทักษ์
dc.contributor.authorภัทรศยา เป็นแผ่น
dc.date.accessioned2024-01-15T01:45:34Z
dc.date.available2024-01-15T01:45:34Z
dc.date.copyright2560
dc.date.created2567
dc.date.issued2560
dc.descriptionวัฒนธรรมศึกษา (มหาวิทยาลัยมหิดล 2560)
dc.description.abstractงานวิจัยคุณภาพเรื่อง การศึกษาแนวทางการปริวรรตวิถีชีวิตกสิกรชานเมือง มีวัตถุประสงค์ 3 ข้อ ได้แก่ 1. เพื่อศึกษาทรรศนียมิติทางประวัติศาสตร์ของการกดขี่ผ่านชีวิตของชาวนา 2. เพื่อศึกษามโนธรรมสำนึกด้านการกดขี่ในชาวนา และ 3. เพื่อศึกษาแนวทางแก้ไขปัญหาการถูกกดขี่ในชาวนา ผู้วิจัยเข้าไปสังเกตในฐานะผู้มีส่วนร่วมกับชุมชนชาวนาในพื้นที่ภาคกลาง พื้นที่กึ่งเมืองกึ่งชนบทตำบลคลองโยง อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม รายงานผลในลักษณะกรณีศึกษาจำนวน 5 ราย แล้วสร้างข้อสรุปด้วยการวิเคราะห์เชิงอุปนัย (Analytic induction) ผลการศึกษาพบว่า แบบแผนของ การกดขี่ในวิถีชีวิตชาวนามีสาเหตุมาจากการผลิตแบบทุนนิยมในวิถีสมัยใหม่ ผลลัพธ์คือชาวนาไม่สามารถดำรงชีวิตได้อย่างพอเพียงเลี้ยงชีพ แม้อุทิศตนทำงานหนักแต่ได้รับผลตอบแทนน้อย ชาวนาถูกลดทอนความเป็นมนุษย์ให้เป็นผู้รับใช้เครื่องจักร ขาดมโนธรรมสำนึกแห่งความพอเพียง การน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมากำกับวิถีการผลิตอาจช่วยนำพาชาวนาให้หลุดพ้นจากการถูกกดขี่ได้
dc.description.abstractThe research entitled The study of transformative approach of suburb peasants' way of life was a qualitative research. The objects of this study were to study a historical perspective of the oppression in agriculturist, to study a conscientization of the oppression in agriculturist and to study the way to solve the oppression in agriculturist. The researcher observed in a suburb area of central region of Thailand, Klongyong Sub-district, Phutthamonthon District, Nakhon Phathom Province. The methods of study were participant observation and in-depth interview with 5 agriculturists and used an analytic induction to create a conclusion. The study found that the oppression in peasants' way of life occur by the mode of production are in modern way. The results were peasants could not live sufficiently, even though they worked very hard, but gained very less. They were also dehumanized and became a machined man with no conscientization of sufficiency. The research claimed that applying the philosophy of sufficiency economy to peasants' way of life will help them to release from the oppression.
dc.format.extent[ก]-ญ, 132 แผ่น : ภาพประกอบ
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (วัฒนธรรมศึกษา))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2560
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92703
dc.language.isotha
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดล. หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderมหาวิทยาลัยมหิดล
dc.subjectชาวนา -- ไทย
dc.subjectทุนนิยม
dc.subjectเศรษฐกิจพอเพียง
dc.titleการศึกษาแนวทางการปริวรรตวิถีชีวิตกสิกรชานเมือง
dc.title.alternativeThe sdudy of transformative approach of suburb peasants's way of life
dc.typeMaster Thesis
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2560/cd524/5636445.pdf
thesis.degree.departmentสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
thesis.degree.disciplineวัฒนธรรมศึกษา
thesis.degree.grantorมหาวิทยาลัยมหิดล
thesis.degree.levelปริญญาโท
thesis.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

Files